Page 67 -
P. 67
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 35 (1) : 62-73 (2559) 65
์
และหินยุค Permian carboniferous รวมจ�านวน 14 จุด ๆ และล�าดับของการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน (land use
ละ 2 ตัวอย่าง ที่ระดับความลึก 30 และ 60 เซนติเมตร transition sequences) และ (4) ประเมินความน่าจะเป็น
พร้อมทั้งวัดระดับความลึกของดิน แล้วน�าตัวอย่างดินไป ของการใช้ที่ดิน (location characteristics) ตามภาพ
วิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ เหตุการณ์และข้อก�าหนดข้างต้น โดยปัจจัยที่มีผลต่อ
แปลตีความภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat-5TM การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ประกอบด้วย แบบจ�าลอง
ปี พ.ศ. 2555 ด้วยสายตา (visual interpretation) ตรวจสอบ ความสูงเชิงตัวเลข (digital elevation model: DEM)
ความถูกต้องของการแปลภาพถ่ายจากดาวเทียมภาคสนาม ขนาด 30 × 30 เมตร ทิศด้านลาด (aspect) ความลาดชัน
(ground truth) โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบตามชั้นภูมิ (slope) ความลึกของดิน (soil depth) ปริมาณน�้าฝนรายปี
(stratified random sampling) ของข้อมูลการใช้ที่ดิน รวม (annual rainfall) ระยะห่างจากทางน�้า (distances from
167 จุด ครอบคลุมทุกประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน river) ระยะห่างจากถนน (distances from road) และ
ได้แก่ ป่าไม้ 7 จุด ยางพารา 23 จุด ปาล์มน�้ามัน 30 จุด สวนผสม ระยะห่างจากชุมชน (distances from village) และวิธี
88 จุด นาข้าว 2 จุด ชุมชน 8 จุด และอื่นๆ 9 จุด และใช้ GPS การทางสถิติ logistic regression ด้วยโปรแกรมส�าเร็จรูป
เป็นเครื่องมือช่วยหาต�าแหน่งภาคพื้นดิน แล้วน�าไป และแสดงผลในรูปแบบแผนที่ด้วยโปรแกรม ArcGIS
ประเมินความถูกต้อง (classification accuracy) และจัด การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบจ�าลอง InVEST (Tillis
ระดับการยอมรับตามค่าดัชนีแคปปา (Kappa Index) et al., 2011) และโปรแกรม ArcGIS คาดการณ์ปริมาณ
กำรวิเครำะห์ข้อมูล น�้าท่าในอนาคต (พ.ศ. 2573 หรือ ค.ศ. 2030) โดยมี
จัดท�าแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินในอดีต ปัจจัยน�าเข้า ดังนี้ ปริมาณน�้าฝน (precipitation) ความลึก
(พ.ศ. 2543) และแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจุบัน ของดิน (soil depth) การกักเก็บน�้าของพืช (plant
(พ.ศ. 2555) โดยการน�าเข้าข้อมูลขอบเขตลุ่มน�้าหลัก available water content) การคายระเหยน�้า (average
ขอบเขตลุ่มน�้าย่อย ขอบเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน บน annual potential evapotranspiration) การใช้ที่ดินและ
หน้าจอคอมพิวเตอร์ (on-screen digitizing) และตรวจสอบ สิ่งปกคลุมดิน (land use/land cover) ขอบเขตลุ่มน�้าหลัก
ความถูกต้องของข้อมูลแผนที่การใช้ที่ดินจากการแปล (watershed) ขอบเขตลุ่มน�้าย่อย (sub-watershed) ตาราง
ตีความเปรียบเทียบกับข้อมูลในภาคสนาม ชีวกายภาพ (Biophysical Table) และค่าคงที่ของซาง (Zhang
ใช้แบบจ�าลอง CLUE-S (Veldkamp and Fresco, constant)
1996; Verburg et al., 1999) คาดคะเนการใช้ประโยชน์ ใช้สมการการสูญเสียดินสากล Universal
ที่ดินในอนาคต (พ.ศ. 2573 หรือ ค.ศ. 2030) ตามปัจจัย Soil Loss Equation : USLE (Wischmeier and Smith,
น�าเข้า ดังนี้ (1) ก�าหนดปริมาณความต้องการการใช้ที่ดิน 1978) และโปรแกรม ArcGIS ประเมินการกัดชะหน้า
(land use requirement: demand) โดยก�าหนดภาพเหตุการณ์ ดินในอนาคต (พ.ศ. 2573 หรือ ค.ศ. 2030) โดยใช้ปัจจัย
การใช้ที่ดิน 3 แบบ คือ ภาพเหตุการณ์การใช้ที่ดินตาม น�าเข้า ดังนี้ ปัจจัยการชะล้างพังทลายของฝน (rainfall
แนวโน้มการใช้ที่ดินในอดีต (trends) ภาพเหตุการณ์ erosivity) ปัจจัยความคงทนต่อการถูกชะล้างพังทลาย
การใช้ที่ดินแบบอนุรักษ์ (conservation) และภาพเหตุการณ์ ของดิน (soil erodibility) ปัจจัยความลาดชันของพื้นที่
การใช้ที่ดินแบบพัฒนา (development) (2) ก�าหนดให้ (slope length and slope steepness) ปัจจัยการจัดการ
พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยาน เสด็จในกรม กรมหลวง พืช (crop management factor) และปัจจัยการปฏิบัติ
ชุมพร ด้านทิศใต้ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งระยะ-นาสัก ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน (conservation practice
เป็นพื้นที่หวงห้าม (restrictions) (3) ความยากง่ายของ factor) และประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์บริการของ
การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน (conversion elasticity) การสูญเสียหน้าดิน เพื่อหามูลค่าต้นทุนการขุดลอก