Page 62 -
P. 62
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
60 Thai J. For. 35 (1) : 45-61 (2016)
ซึ่งในความหลากชนิดนั้นก็ท�าให้แต่ละชนิดพันธุ์จะมี เดียวกันกับปริมาณผลผลิตซากพืชรวมทั้งหมด กล่าวคือ
ชั้นเรือนยอดที่แตกต่างกันไปมาก ชนิดพันธุ์ต่างๆ จึง เมื่อลักษณะเชิงปริมาณดังที่กล่าวมาข้างต้นมีค่าเพิ่มขึ้น
สามารถเติบโตและสร้างชั้นเรือนยอดที่แตกต่างกันได้ ก็จะส่งผลให้ปริมาณผลผลิตซากพืชทั้งหมดเพิ่มมาก
มากยิ่งขึ้น (Sahunalu, 1987) แม้ว่าจ�านวนชนิดพันธุ์ที่ ขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ Kunhamu et al.
พบในสองสังคมจะแตกต่างกัน (8 ชนิด (MM) และ 17 (2009) และ Celentano et al. (2011)
ชนิด (FPT)) แต่เนื่องด้วยค่าความหนาแน่นของไม้และ
ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินที่ค่อนข้างสูงและมีค่า REFERENCES
ใกล้เคียงกันของทั้งสองสังคม (ซึ่งแม้ว่าสภาพแวดล้อม
ก่อนท�าการฟื้นฟูของสังคมเหมืองแม่เมาะ (MM) จะมี Apichatmeatee, K. 1996. A Study on
สภาพรุนแรงต่อการตั้งตัวของต้นไม้เนื่องจากหน้าดิน Undergrowth and Litter Biomass
และพืชพันธุ์ได้ถูกท�าลายไปหมด แต่ด้วยการเตรียมพื้นที่ in Mixed Deciduous Forest at Mae
และการบ�ารุงรักษาและป้องกันไฟ และการคัดเลือกไม้ Klong Watershed Research Station
เบิกน�าพวกกระถินณรงค์ (Acacia auriculiformis Cunn.) in Changwat Kanchanaburi. M.S.
และกระถินยักษ์ (Leucaena sp.) มาปลูกฟื้นฟู อันส่งผลให้ Thesis, Kasetsart Universtiy. (in Thai)
การเติบโตใกล้เคียงกับสังคมป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ Ashton, P.S. 1964. Ecological Studies in The
ที่มีการดูแลจัดการเฉพาะในช่วงปีแรกๆ จึงท�าให้ปริมาณ Mixed Dipterocarp Forest of Brunei
ของซากพืชมีค่าสูงใกล้เคียงกัน แตกต่างกับสังคมพืชที่ State. Clarendon Press, Oxford.
ได้จากการฟื้นฟูแบบเพิ่มผลผลิต (MMP) ที่มีการปลูก ., P.S. and P. Hall, 1992. Comparisons
แบบระบบสวนป่าชนิดพันธุ์เดียว คือ สัก (Tectona of structure among mixed dipterocarp
grandis Linn. f.) (4 ชนิด) ซึ่งมีการจัดการตามระบบ forests of northwestern Borneo.
วนวัฒน์ จึงท�าให้ระดับชั้นเรือนยอดของหมู่ไม้ในสังคม Journal of Ecology 80: 459-481.
มีความแตกต่างกันน้อย อีกทั้งความหนาแน่นของหมู่ไม้ Bunyavejchewin, S., B. Puriyakorn and S.
และปริมาณมวลชีภาพเหนือพื้นดินยังมีค่าน้อยกว่าสังคม Kiratiprayoon. 1987. Litterfall
อื่นๆ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ Kunhamu et and net primary productivity in
al. (2009) และ Celentano et al. (2011) spacing trial plots of EUCALYPTUS
3. ปริมาณผลผลิตซากพืชรวมทั้งหมดมีความ CAMALDULENSIS. Thai Journal
สัมพันธ์ในทางตรงกันข้ามกับปริมาณน�้าฝน อุณหภูมิ of Forestry 6: 239-249.
และความชื้นสัมพัทธ์ กล่าวคือ เมื่อปริมาณน�้าฝนน้อย Celentano, D., R.A. Zahawi., B. Finegan., R.
อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ต�่า หมู่ไม้จะมีการทิ้งใบ Ostertag., R.J. Cole. and K.D. Holl.
เพื่อลดการคายน�้า จึงท�าให้ปริมาณผลผลิตซากพืชที่ 2011. Litterfall dynamics under different
เป็นใบมีมากขึ้น สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Spain tropical forest restoration strategies
(1984) และ Williams-Linera et al. (1996) ส่วนปัจจัย in Costa Rica. BIOTROPICA 43
แวดล้อมอื่นๆ อันได้แก่ ลักษณะเชิงปริมาณในสังคมที่ (3): 279-287.
ท�าการศึษา พบว่า จ�านวนชนิดพันธุ์ที่พบ ความสูงของไม้ Condit, R., S.P. Hubbell and R.B. Foster. 1996.
พื้นที่หน้าตัดของไม้ ความหนาแน่นของไม้ และปริมาณ Changes in a tropical forest with a
มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน มีความสัมพันธ์ในทิศทาง shifting climate: results from a 50 ha