Page 65 -
P. 65
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 35 (1) : 62-73 (2559) 63
์
The land-use scenario 3 substantially most reduced forest cover by 18.32 % and 9.91 %
3
was converted to rubber plantations. The predicted annual water yield was 494.92 million m and
the sediment load was 5.07 ton/rai/year. The cost to remove sediment in the stream channel (8.97
baht/rai) and the accumulated value of major nutrients loss (12,455 baht/rai) were the highest
among the three land-use scenarios. Based on these findings, the land-use scenario 2 is appropriate
for Klongchumphon Watershed because it would generated the least soil erosion and economic
loss of soil fertilizers.
Keywords: CLUE-S InVEST and USLE model, Ecosystem Services, Scenario,
Klongchumphon watershed
บทคัดย่อ
พื้นที่ป่าในลุ่มน�้าคลองชุมพร ถูกเปลี่ยนแปลงเป็นยางพารา ปาล์มน�้ามัน และสวนผลไม้ การท�าลายป่า
ส่งผลให้ปริมาณน�้าท่าและปริมาณตะกอนในล�าน�้าเพิ่มขึ้น เกิดปัญหาน�้าท่วมบริเวณพื้นที่ตอนล่างทุกปี
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์ปริมาณน�้าท่า การชะล้างหน้าดิน และประเมินมูลค่า
ทางเศรษฐศาสตร์ การสูญเสียธาตุอาหาร และค่าใช้จ่ายในการขุดลอกตะกอน บริเวณลุ่มน�้าคลองชุมพร จังหวัด
ระนองและจังหวัดชุมพร อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ระหว่างปี พ.ศ. 2555-2573 ก�าหนด
ภาพเหตุการณ์การใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคตที่ประกอบด้วย 1) การใช้ที่ดินตามแนวโน้มการใช้ที่ดินใน
อดีต (trends) 2) การใช้ที่ดินแบบอนุรักษ์ (conservation) และ 3) การใช้ที่ดินแบบพัฒนา (development) การวิจัย
ครั้งนี้ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) แบบจ�าลอง CLUE-S, InVEST และ USLE ผลการศึกษา ภาพ
เหตุการณ์ที่ 1 พบว่า พื้นที่ยางพาราขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.32 ขณะที่ป่าไม้ลดลงร้อยละ 9.52 โดยเปลี่ยนเป็น
ยางพารามากที่สุด ร้อยละ 7.73 การใช้ที่ดินตามภาพเหตุการณ์ที่ 1 ให้ปริมาณน�้าท่าต่อปี 486.64 ล้านลูกบาศก์
เมตร และท�าให้เกิดการสูญเสียดิน 4.60 ตัน/ไร่/ปี มีค่าใช้จ่ายในการขุดลอกตะกอน 8.20 บาท/ไร่ สูญเสียธาตุ
อาหารหลัก N P และ K จ�านวน 597.46, 0.01 และ 0.22 กิโลกรัม/ไร่ ตามล�าดับ คิดเป็นมูลค่ารวม 11,388 บาท/ไร่
ภาพเหตุการณ์ที่ 2 ท�าให้พื้นที่ยางพาราเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ร้อยละ 2.3) แต่ป่าไม้ไม่เปลี่ยนแปลง ให้ปริมาณ
น�้าท่ารายปี 480.16 ล้านลูกบาศก์เมตร สูญเสียดิน 4.07 ตัน/ไร่/ปี ค่าใช้จ่ายในการขุดลอกตะกอน 7.27 บาท/ไร่ และสูญ
เสียธาตุอาหาร N P และ K เท่ากับ 529.47, 0.01 และ 0.19 กิโลกรัม/ไร่ ตามล�าดับ คิดเป็นมูลค่ารวม 10,092 บาท/ไร่
การใช้ที่ดินตามภาพเหตุการณ์ที่ 3 ท�าให้พื้นที่ป่าไม้ลดลงอย่างมาก ร้อยละ 18.32 โดยร้อยละ 9.91 เปลี่ยน
เป็นยางพารา คาดการณ์ว่าได้ปริมาณน�้าท่ารายปี 494.92 ล้านลูกบาศก์เมตร อัตราการสูญเสียดิน 5.07 ตัน/ไร่/ปี
ค่าใช้จ่ายในการขุดลอกตะกอนจากล�าธาร (8.97 บาท/ไร่) และมูลค่ารวมของการสูญเสียธาตุอาหารหลักมากที่สุด
จาก 3 ภาพเหตุการณ์ของการใช้ที่ดิน (12,455 บาท/ไร่) ดังนั้น รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินตามภาพเหตุการณ์
ที่ 2 จึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดส�าหรับลุ่มน�้าคลองชุมพร เนื่องจากมีปริมาณตะกอนและมูลค่าการสูญเสีย
ธาตุอาหารของดินน้อยที่สุด
ค�ำส�ำคัญ: แบบจ�าลอง CLUE-S, InVEST และ USLE บริการของระบบนิเวศ ภาพเหตุการณ์ ลุ่มน�้าคลองชุมพร