Page 68 -
P. 68

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 66                        Thai J. For. 35 (1) : 62-73 (2016)




                 ตะกอนในล�าธาร และต้นทุนการสูญเสียความอุดม   มีสัดส่วนพื้นที่ป่าไม้มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 43.89
                 สมบูรณ์ของดิน (ธาตุอาหาร N P และ K) โดยอ้างอิง  รองลงมาเป็นสวนผสม ยางพารา ปาล์มน�้ามัน ชุมชน
                 จากการศึกษาของ Nuanmano (2013) เพื่อก�าหนด  อื่นๆ และนาข้าว คิดเป็นร้อยละ 24.46, 18.43, 9.82,
                 ทางเลือกรูปแบบการใช้ที่ดินที่เหมาะสม        2.18, 1.19 และ 0.04 ตามล�าดับ มีความถูกต้องของ
                                                             การจ�าแนกโดยรวม (overall accuracy) ร้อยละ 86.83
                            ผลและวิจำรณ์                             ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย

                                                             ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน 8 ปัจจัย และ
                 รูปแบบกำรใช้ที่ดินในปัจจุบัน (พ.ศ. 2555)    การใช้ที่ดิน 7 ประเภท ด้วยสมการถดถอยโลจิสติค
                        ผลการแปลข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม     (logistic regression) บริเวณลุ่มน�้าคลองชุมพร ปี พ.ศ. 2555
                 Landsat - 5TM สามารถจ�าแนกรูปแบบการใช้ประโยชน์  ได้ค่าปัจจัยที่มีนัยส�าคัญทางสถิติ และค่าสัมประสิทธ์
                 ที่ดินบริเวณลุ่มน�้าคลองชุมพร ออกเป็น 7 ประเภท โดย  ตาม Table 1

                 Table 1  β values of significant location factors for regression results related to each land use location.

                                                      Oil       Fruit    Paddy
                 Variables          Forest   Rubber                               Urban     Other
                                                      Palm      orchard field
                 Elevation          0.03561  -0.01626  -0.02788   -0.01692  n.s.   n.s.     -0.02921
                 Slope              0.04729  n.s.     n.s.      -0.03495  n.s.    -0.17012  -0.00927
                 Aspect             n.s.     n.s.     n.s.      n.s.     n.s.     -0.00114   n.s.
                 Soil depth         n.s.     -0.02543  n.s.     n.s.     n.s.     -0.01332  -0.00223
                 Annual rainfall    n.s.     0.00191   -0.00067   n.s.   n.s.     -0.00012  -0.00041
                 Distance from road   n.s.   -0.00068  0.00037   n.s.    n.s.     0.00022   -0.00020
                 Distance from river   n.s.   n.s.    n.s.      n.s.     n.s.     0.00020   -0.00087
                 Distance from village  n.s.   0.00065   n.s.   n.s.     -0.01099  -0.00026  0.00026
                 Constant           -5.87553  0.69319   2.86926   2.31188  9.04132   3.26045   2.72882
                 AUC*               0.973    0.831    0.850     0.835    0.992    0.863     0.878
                 Notes:  n.s., not significant at 0.05 level; * AUC, area under curve of receiver operating characteristic

                        จาก Table 1 พบว่า สมการถดถอยโลจิสติค  แต่ถ้าที่ดินตั้งอยู่ในที่สูงมาก ดินตื้น และอยู่ห่างไกลจาก
                 ให้ค่าความสัมพันธ์ปัจจัยที่ตั้งของที่ดินไม่ครบทุกปัจจัย   ถนน ล�าบากในการเข้าถึง จะเป็นปัจจัยจ�ากัดที่จะเปลี่ยน
                 และแต่ละปัจจัยมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน  การใช้ที่ดินเป็นสวนยางพาราเช่นกัน ซึ่งสอดคล้องกับ

                 แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับประเภทการใช้ที่ดิน เช่น พื้นที่ที่มี  การศึกษาของ Trisurat et al. (2010) และ Trisurat and
                 ระดับสูงและความลาดชันมาก มีความสัมพันธ์เชิงบวก  Duengkae (2011)
                                                                     ค่า AUC เป็นค่าที่ใช้ในการอธิบายความ
                 กับพื้นที่ป่าไม้ แต่เป็นปัจจัยจ�ากัดต่อการเปลี่ยนเป็นการ    ถูกต้องของการคาดการณ์สมการถดถอยโลจิสติค โดย
                 ใช้ที่ดินประเภทอื่น ส่วนปัจจัยที่ไม่มีความสัมพันธ์ต่อ  ทั่วไปแล้วการยอมรับค่าความถูกต้อง มีค่าระหว่าง 0.7
                 การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ ได้แก่ ทิศด้านลาด ความลึก  ถึง 1 (Pontius and Schneider, 2001) ซึ่งจากการศึกษา

                 ของดิน ปริมาณน�้าฝน ระยะห่างจากถนน ระยะห่างจาก  พบว่า พื้นที่ที่มีค่า AUC สูง ได้แก่ นาข้าว (0.99) และ
                 แหล่งน�้า และระยะห่างจากชุมชน ในขณะที่ที่ตั้งของ  ป่าไม้ (0.97) ในขณะที่พื้นที่ที่มีค่า AUC สูง-ปานกลาง
                 ที่ดินที่มีฝนตกมาก และอยู่ไม่ไกลจากชุมชน มีความเสี่ยง  ได้แก่ พื้นที่อื่นๆ (0.88) ชุมชน (0.86) ปาล์มน�้ามัน

                 ที่จะเปลี่ยนเป็นสวนยางพารา เพราะมีปัจจัยที่เหมาะสม   (0.85) สวนผสม (0.84) และยางพารา (0.83) ตามล�าดับ
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73