Page 73 -
P. 73
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 35 (1) : 62-73 (2559) 71
์
เหตุการณ์การใช้ที่ดิน ปี พ.ศ. 2555 และ ปี พ.ศ. 2573 โดย อาหารหลัก (N P และ K) จากการชะล้างพังทลายของ
ใช้อัตราส่วนการถูกพัดพาเป็นตะกอนในล�าน�้า (sediment ดินเฉลี่ยเท่ากับ 2,126 ล้านบาท หรือคิดเป็น 11,320
delivery ratio: SDR) ปี พ.ศ. 2555 ซึ่งเท่ากับ 0.076 และ บาท/ไร่ ซึ่งการใช้ที่ดินแบบพัฒนา มีมูลค่าการสูญเสีย
ตะกอนแขวนลอยที่ได้จากการตรวจวัดที่สถานี X.53A ธาตุอาหารหลักมากที่สุด เท่ากับ 12,455 บาท/ไร่ รอง
เท่ากับ 49,780 ตัน (Royal Irrigation Department, 2012) ลงมาเป็นการใช้ที่ดินเหมือนในอดีตและแบบอนุรักษ์
และปริมาณดินที่ถูกกัดเซาะ (on site soil erosion) ที่ได้ ซึ่งมีมูลค่าการสูญเสียธาตุอาหารหลัก เท่ากับ 11,388
จากสมการ USLE เท่ากับ 656,994 ตัน อัตราราคางาน และ 10,092 บาท/ไร่ตามล�าดับ
ต่อหน่วยในการขุดลอกร่องน�้าและเคลื่อนย้ายตะกอน
ลูกบาศก์เมตรละ 30.22 บาท (Bureau of the Budget, สรุป
2012) และอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ร้อยละ 0.87 ต่อปี ลุ่มน�้าคลองชุมพร เป็นแหล่งบริการทางนิเวศ
(Bank of Ayudhya Public Company Limited, 2012) ที่ส�าคัญต่อชุมชนในพื้นที่โดยรอบ การบุกรุกพื้นที่ป่า
คาดว่าในปี พ.ศ. 2573 ลุ่มน�้าคลองชุมพรจะมีต้นทุนใน และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินที่ไม่เหมาะสม ในการ
การขุดลอกตะกอนในล�าธาร มูลค่า 1.36 - 1.68 ล้าน ปลูกยางพารา ปาล์มน�้ามัน สวนผสม และที่อยู่อาศัย ท�าให้
บาท ซึ่งหากมีการใช้ที่ดินแบบพัฒนาจะมีต้นทุนมาก เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศและชุมชนโดยรอบ อีกทั้ง
ที่สุด รองลงมาเป็นการใช้ที่ดินเหมือนในอดีต และการ ยังเป็นสาเหตุให้เกิด การเปลี่ยนแปลงปริมาณน�้าท่า การ
ใช้ที่ดินแบบอนุรักษ์ ตามล�าดับ ชะล้างพังทลายของดิน และการสูญเสียธาตุอาหารหลัก
ผลการประเมินมูลค่าการสูญเสียความอุดม ของพืช
สมบูรณ์ของดิน บริเวณลุ่มน�้าคลองชุมพร ตามภาพ การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณลุ่มน�้าคลอง
เหตุการณ์การใช้ที่ดิน ปี พ.ศ. 2555 และ ปี พ.ศ. 2573 ชุมพร ปี พ.ศ. 2573 ตามภาพเหตุการณ์การใช้ที่ดิน
โดยอ้างอิงข้อมูลปริมาณธาตุอาหารหลัก (N P และ K) 3 แบบ คาดว่าพื้นที่สวนยางพาราเพิ่มขึ้นทุกทางเลือก
ในดิน 1 กิโลกรัม บนเขาคอหงส์ จังหวัดสงขลา ซึ่ง แต่การใช้ที่ดินท�านาข้าวลดลงในทุกทางเลือกเช่นกัน
-6
-6
เท่ากับ 0.13, 3.17x10 และ 47.71x10 กิโลกรัม ตาม โดยพื้นที่ที่เปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด คือ นาข้าว หากการ
ล�าดับ (Nuanmano, 2013) เนื่องจากในพื้นที่ศึกษาไม่มี ใช้ที่ดินเปลี่ยนแปลงตามแนวโน้มของการใช้ที่ดิน
การศึกษาวิจัยเรื่องธาตุอาหารในตะกอนแขวนลอย และ ในอดีต พื้นที่ป่าไม้จะลดลงอย่างต่อเนื่อง พื้นที่สวน
พื้นที่บนเขาคอหงส์มีลักษณะทางธรณีวิทยาเหมือนกับ ยางพาราจะเพิ่มขึ้น ส่วนการใช้ที่ดินประเภทอื่นจะลด
ลุ่มน�้าคลองชุมพร โดยมูลค่าของธาตุอาหารไนโตรเจน ลงเช่นกัน แต่ถ้ามีการป้องกันรักษาป่าไม้ที่เหลืออยู่อย่าง
(N) น�ามาเปรียบเทียบกับราคาแม่ปุ๋ยไนโตรเจนหรือ เข้มงวดให้พื้นที่ป่าไม้คงสภาพเดิม พื้นที่สวนยางพารา
ยูเรีย (urea) สูตร 46-0-0 ราคากระสอบละ (50 กิโลกรัม) และชุมชนจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ส่วนการใช้ที่ดินประเภท
เท่ากับ 815 บาท มูลค่าธาตุอาหารฟอสฟอรัส (P) น�า อื่นก็ลดลงเล็กน้อยเช่นกัน และถ้าพื้นที่ป่าไม้ถูกบุกรุก
มาเปรียบเทียบกับราคาแม่ปุ๋ยฟอสเฟต (DAP) สูตร ท�าลายอย่างรุนแรง ไม่สามารถรักษาพื้นที่ป่าสงวนไว้ได้
18-46-0 ราคากระสอบละ (50 กิโลกรัม) เท่ากับ 1,200 พื้นที่ป่าไม้จะถูกบุกรุกเปลี่ยนเป็นพื้นที่ยางพารา ปาล์ม
บาท และมูลค่าธาตุอาหารโพแทสเซียม (K) น�ามา น�้ามัน สวนผสม ชุมชน และอื่นๆ แทน โดยเปลี่ยนเป็น
เปรียบเทียบราคาแม่ปุ๋ยโพแทสเซียม (MOP) สูตร 0-0- ยางพารามากที่สุด ส่วนนาข้าวจะหมดไป
60 ราคากระสอบละ (50 กิโลกรัม) เท่ากับ 1,040 บาท การเปลี่ยนแปลงปริมาณน�้าท่าและปริมาณ
(Department of Internal Trade, 2012) และคาดว่า ปี ตะกอนใน ปี พ.ศ. 2573 ตามภาพเหตุการณ์การใช้ที่ดินที่
พ.ศ. 2573 ลุ่มน�้าคลองชุมพร มีมูลค่าการสูญเสียธาตุ แตกต่างกัน 3 แบบ คาดว่าปริมาณน�้าท่าและและปริมาณ