Page 77 -
P. 77
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 35 (1) : 86-97 (2559) 87
์
knowledge in the conservation of forest resources and received training course. Thus, the relevant
goverment officers should employ the obtained information as a quideline for formulating the
appropriate management plan of Ban Nongphakrai community forest.
Keywords: dependency on, forest resources, community forest
บทคัดย่อ
ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ข้อมูลทั่วไป ปริมาณการ
พึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ และปัจจัยที่มีผลต่อการพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ของราษฎรในป่าชุมชนบ้านหนองผักไร อ�าเภอ
ปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมาโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล จ�านวน 132 ครัวเรือน ค่าทางสถิติที่ใช้
ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต�่าสุด และทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ค่าสถิติ
t-test และ ค่าสถิติ F-test ก�าหนดระดับนัยส�าคัญทางสถิติที่ 0.05
ผลการศึกษาพบว่าราษฎรกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 54.55 มีอายุเฉลี่ย 47.94 ปี ส�าเร็จการ
ศึกษาระดับประถมศึกษาหรือน้อยกว่า ร้อยละ 75.76 ประกอบอาชีพท�านา ร้อยละ 68.18 มีอาชีพรอง ร้อยละ 58.33
โดยมีขนาดพื้นที่ถือครอง เฉลี่ย 9.30 ไร่ มีจ�านวนแรงงานในครัวเรือน เฉลี่ย 3.40 คน มีระยะเวลาการตั้งถิ่นฐาน เฉลี่ย
27.45 ปี มีรายได้ เฉลี่ย 126,757.60 บาทต่อปี เป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม ร้อยละ 60.61 ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารในการ
อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ร้อยละ 83.33 โดยภาพรวมราษฎรกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ป่าไม้ อยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 76.52 เคยเข้าร่วมกิจกรรมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ร้อยละ 77.27 และ
เคยได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ ร้อยละ 16.67 ทรัพยากรป่าไม้ที่พึ่งพิง ได้แก่ ไม้ฟืน ผลไม้ เห็ด พืช
ผัก แมลงกินได้ น�้าผึ้ง อึ่ง กบและสมุนไพร มีมูลค่ารวม 365,305.57 บาท/ปี ปัจจัยที่มีผลต่อการพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้
ได้แก่ อาชีพหลัก อาชีพรอง ขนาดพื้นที่ถือครอง ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐาน รายได้ของครัวเรือน การเป็นสมาชิกกลุ่ม
ทางสังคม ความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และการได้เข้ารับการฝึกอบรม ดังนั้น เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องควรน�า
ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ไปใช้ในการวางแผน ในการจัดการป่าชุมชนบ้านหนองผักไร
ค�ำส�ำคัญ: การพึ่งพิง ทรัพยากรป่าไม้ ป่าชุมชน
ค�ำน�ำ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในรูปแบบของการ
มีส่วนร่วมตามแนวทางประชารัฐ (public participation)
ในอดีตประเทศไทยมีทรัพยากรป่าไม้อย่าง ที่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการด�าเนินการจากเดิมที่ให้รัฐ
อุดมสมบูรณ์ ท�าให้มีการน�าเอาทรัพยากรป่าไม้ มาใช้ มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติเพียง
กันอย่างฟุ่มเฟือย ตลอดจนปัจจุบันท�าให้มีการลดลงของ ฝ่ายเดียวเป็นการกระจายอ�านาจโดยราษฎรและองค์กร
พื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทย โดยพื้นที่ป่าถูกท�าลายจาก ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมเช่น ให้องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น
การบุกรุกถางป่าท�าไร่เลื่อนลอย และอื่นๆ ซึ่งเป็นปัญหา เข้ามามีส่วนร่วมกับพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายใน
ที่ส�าคัญ ซึ่งปัญหาดังกล่าวข้างต้นผลักดันให้ต้องมีการ การดูแลคุ้มครองบ�ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
แก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนประกอบกับการพัฒนาทางการ สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ (Royal Forest Department, 2010)
เมืองท�าให้เกิดแนวคิดใหม่ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา เนื่องจากประชาชนเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิด มีความต้องการ