Page 80 -
P. 80

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 90                        Thai J. For. 35 (1) : 86-97 (2016)




                 และ 0.75 ตามล�าดับ มีอาชีพรองคิดเป็นร้อยละ 58.33   ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคมร้อยละ 60.61 เป็น
                 โดยประกอบอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 33.33 รองลงมา  สมาชิกกลุ่มกองทุนหมู่บ้าน กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเกษตรกร
                 ประกอบอาชีพท�านา ร้อยละ 13.64 และประกอบอาชีพ  และกลุ่มออมทรัพย์ คิดเป็น ร้อยละ 44.70, 6.06, 5.30
                 ท�าไร่ ค้าขาย จ�านวนเท่ากันคิดเป็นร้อยละ 3.79 แม่บ้าน  และ 4.55 ตามล�าดับและไม่เป็นสมาชิกทางสังคม ร้อยละ
                 ร้อยละ 3.03 และประกอบอาชีพ ท�าสวน ร้อยละ 0.75   39.39 ราษฎรกลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่เคยเข้าร่วม
                 และไม่มีอาชีพรองร้อยละ 41.67 ส่วนใหญ่มีจ�านวน  กิจกรรมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ คิดเป็น ร้อยละ
                 แรงงานในครัวเรือนตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป มากที่สุด  คิดเป็น  77.27 โดยเข้าร่วมกิจกรรมการปลูกสร้างสวนป่า เข้า

                 ร้อยละ 65.91 รองลงมามีจ�านวนแรงงานในครัวเรือน   ร่วมกิจกรรมการป้องกันรักษาป่าไม้ เข้าร่วมกิจกรรม
                 2 คน ร้อยละ 27.27 และน้อยที่สุดมีจ�านวนแรงงานใน  การอนุรักษ์สัตว์น�้าและสัตว์ป่าและเข้าร่วมกิจกรรม
                 ครัวเรือน 1 คน ร้อยละ 6.82 โดยมีจ�านวนแรงงานใน  การป้องกันไฟป่าคิดเป็น ร้อยละ 55.30, 11.36, 6.06
                 ครัวเรือนเฉลี่ย 3.40 คน สูงสุด 15 คน และต�่าสุด 1 คน   และ 4.55 ตามล�าดับ และไม่เข้าร่วมกิจกรรมในการ
                 ส่วนใหญ่มีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐานของครัวเรือน
                 อยู่ในช่วง 11-20 ปี ร้อยละ 56.06 รองลงมาระยะเวลา  อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ คิดเป็น ร้อยละ 22.73 ราษฎร
                 ในการตั้งถิ่นฐานของครัวเรือนมากกว่า 20 ปี ร้อยละ   กลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับการเข้ารับการ

                 31.82 และน้อยที่สุดมีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐานของ  ฝึกอบรมมีถึงร้อยละ 83.33 และได้รับการฝึกอบรมมี
                 ครัวเรือน อยู่ในช่วง 1-10 ปี ร้อยละ 12.12 โดยราษฎร  เพียงร้อยละ 16.67 หลักสูตรที่ได้รับการเข้ารับการฝึก
                 กลุ่มตัวอย่างมีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐานของครัวเรือน  อบรมได้แก่ หลักสูตรการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ มี
                 เฉลี่ย 27.45 ปี สูงสุด 77 ปี และต�่าที่สุด 2 ปี มีที่ดินเป็น  มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 10.61 รองลงมาหลักสูตรการ
                 ของตัวเองร้อยละ 71.97 และไม่มีที่ดินเป็นของตัวเอง   ป้องกันไฟป่า และหลักสูตรการปลูกสร้างสวนป่า คิด
                 ร้อยละ 28.03 โดยผู้ที่มีที่ดินจะถือครองที่ดิน น้อยกว่า   เป็นร้อยละ 3.79 และ 2.27 ตามล�าดับ
                 5 ไร่ ร้อยละ 47.73 และมากกว่าหรือเท่ากับ  5 ไร่ ร้อยละ   กำรรับรู้ ข้อมูลข่ำวสำรและควำมรู้ในกำรอนุรักษ์
                 24.24 ขนาดที่ดินที่ถือครองสูงสุด 56 ไร่ และเฉลี่ย   ทรัพยำกรป่ำไม้ของรำษฎรกลุ่มตัวอย่ำง
                 9.30 ไร่ มีรายได้จากการประกอบอาชีพรวมของ            การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร พบว่าราษฎรส่วนใหญ่

                 ครัวเรือนต่อปี 50,001-100,000 บาท คิดเป็นร้อยละ   ได้รับข้อมูลข่าวสารคิดเป็นร้อยละ 83.33 โดยราษฎร
                 34.09 รองลงมา มีรายได้น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50,000
                 บาท 150,001-200,000 บาท มากกว่า 200,000 บาท และ  ส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลข่าวสารจากก�านัน/ผู้ใหญ่บ้าน
                 มีรายได้ 100,001-150,000 บาท คิดเป็น  ร้อยละ 24.24,   คิดเป็นร้อยละ 62.88 จากโทรทัศน์และจากหอกระจาย
                 15.91, 13.64 และ 12.12 ตามล�าดับ โดยมีรายได้รวมของ  ข่าวคิดเป็นร้อยละ 14.39 และ 6.06 ตามล�าดับและไม่ได้
                 ครัวเรือนต่อปีเฉลี่ย 126,757.60 บาท ต�่าสุด 15,000 บาท   รับข่าวสารด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้มีเพียงร้อยละ

                 และสูงสุด 500,000 บาท มีรายจ่ายรวมของครัวเรือนต่อปี   16.67 ส�าหรับความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้พบว่า
                 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50,000 บาท  คิดเป็นร้อยละ 49.24   ราษฎรกลุ่มตัวอย่างตอบค�าถามถูกได้คะแนนน้อยที่สุด
                 รองลงมา มีรายจ่าย 50,001-100,000 บาท มีรายจ่าย  2 คะแนน มากที่สุด 11 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ย
                 100,001-150,000 บาท และมีรายจ่ายมากกว่า 150,000   8.72 คะแนน มีการแบ่งระดับความรู้ออกเป็น 2 ระดับ
                 บาท คิดเป็นร้อยละ 31.06, 12.12 และ 7.58 ตามล�าดับ   คือ ระดับสูง และระดับต�่า  พบว่าราษฎรกลุ่มตัวอย่างมี
                 โดยมีรายจ่ายรวมของครัวเรือนต่อปีเฉลี่ย 77,572.73   ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้อยู่ในระดับ
                 บาท ต�่าสุด 5,000 บาท และสูงสุด 400,000 บาท ราษฎร  สูง คิดเป็นร้อยละ 76.52 และอยู่ในระดับต�่าร้อยละ 23.48
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85