Page 85 -
P. 85
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 35 (1) : 86-97 (2559) 95
์
ทรัพยากรป่าไม้ในป่าชุมชนบ้านหนองผักไรแตกต่างกัน สรุป
อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในด้านการเก็บ
หาผลไม้ จึงยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้ โดยราษฎรกลุ่ม จากการศึกษา พบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่าง
ตัวอย่างที่ไม่เคยเข้ารับการฝึกอบรม มีการเก็บหาผลไม้ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 54.55 มีอายุเฉลี่ย 47.94 ปี
ส�าเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือน้อยกว่า ร้อยละ
(x = 0.37 กิโลกรัม) มากกว่าราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่เคย 75.76 ประกอบอาชีพท�านา ร้อยละ 68.18 มีอาชีพรอง
เข้ารับการฝึกอบรม (x = 0.11 กิโลกรัม)
ร้อยละ 58.33 โดยมีขนาดพื้นที่ถือครองเฉลี่ย 9.30 ไร่
ปัญหำ อุปสรรค และข้อเสนอแนะ มีจ�านวนแรงงานในครัวเรือน เฉลี่ย 3.40 คน มีระยะเวลา
จากการศึกษาพบว่าราษฎรกลุ่มตัวอย่าง มี การตั้งถิ่นฐาน เฉลี่ย 27.45 ปี มีรายได้ของครัวเรือน เฉลี่ย
ปัญหา ด้านการพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ของราษฎรในป่า 126,757.60 บาทต่อปี เป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม ร้อยละ
ชุมชนบ้านหนองผักไร คิดเป็นร้อยละ 31.06 โดยประเด็น 60.61 ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ปัญหาที่พบมากที่สุด คือปัญหาราษฎรใช้ประโยชน์จาก ป่าไม้ ร้อยละ 83.33 โดยภาพรวมราษฎรกลุ่มตัวอย่าง
ป่าชุมชนบ้านหนองผักไรอย่างเกินก�าลังผลิตระดับของ ส่วนใหญ่มีความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ อยู่
ปัญหาน้อยและมาก คิดเป็นร้อยละ 7.58 และ 8.33 ตาม ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 76.52 เคยเข้าร่วมกิจกรรม
ล�าดับ รองลงมาปัญหาด้านคณะกรรมการหมู่บ้านไม่ให้ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ร้อยละ 77.27 เคยได้
ความร่วมมือในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชุมชน ระดับ รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ ร้อยละ 16.67
ของปัญหาน้อยและมาก มีจ�านวนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ ได้รับข้อมูลข่าวสารในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คิด
3.03 ผู้น�าชุมชนไม่ให้ความร่วมมือ ระดับของปัญหา เป็นร้อยละ 83.30 และความรู้ของราษฎรกลุ่มตัวอย่าง
น้อยและมาก คิดเป็นร้อยละ 3.03 และ 2.27 ตามล�าดับ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้อยู่ในระดับสูง คิดเป็น
ปัญหาราษฎรไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบของป่าชุมชน ร้อยละ 76.52 และ อยู่ในระดับต�่าร้อยละ 23.48 มีการพึ่งพิง
ทรัพยากรป่าไม้ 9 ประเภท ได้แก่ ไม้ฟืน ผลไม้ เห็ด
บ้านหนองผักไร ระดับของปัญหาน้อยและมาก คิดเป็น พืชผัก แมลงกินได้ น�้าผึ้ง อึ่ง กบ และสมุนไพร มูลค่า
ร้อยละ 1.51 และ 0.76 ตามล�าดับ และราษฎรไม่ให้ความ รวมของทรัพยากรป่าไม้ในป่าชุมชนบ้านหนองผักไร มี
ร่วมมือในการอนุรักษ์ทรัพยากรในป่าชุมชนบ้านหนอง มูลค่า 365,305.57 บาท/ปี นอกจากนี้มีการเข้าไปศึกษา
ผักไร ระดับของปัญหาน้อยและมาก มีจ�านวนเท่ากัน ดูงาน การเข้าไปพักผ่อนหย่อนใจ การเข้าไปประกอบ
คิดเป็นร้อยละ 0.76 ส�าหรับข้อเสนอแนะพบว่าราษฎร พิธีกรรมและการน�าสัตว์เลี้ยงเข้าไปเลี้ยงในพื้นที่ป่า
กลุ่มตัวอย่างต้องการให้มีการพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ใน ชุมชนบ้านหนองผักไรคิดเป็นร้อยละ 19.70, 12.88,
ป่าชุมชนบ้านหนองผักไรเพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ 10.61 และ 7.58 ตามล�าดับ
ได้อย่างยั่งยืนร้อยละ 34.85 โดยต้องการที่จะให้มีการ การทดสอบสมมติฐานพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อ
รณรงค์ปลูกป่าเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 13.60 รองลงมา การพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ของราษฎรในป่าชุมชนบ้าน
คือ ต้องการโครงการแก้มลิงเพื่อใช้ในการเกษตรให้มี หนองผักไร ได้แก่ อาชีพหลัก อาชีพรอง ขนาดพื้นที่
การจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อดูแลป่าไม้อย่างแท้จริงจัด ถือครอง ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐาน รายได้ของครัวเรือน
ท�าถนนรอบป่าชุมชนเพื่อลดการบุกรุกและเจ้าหน้าที่มี การเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม ความรู้ในการอนุรักษ์
ความเข้มงวดกวดขันดูแลพื้นที่ให้มากขึ้นคิดเป็นร้อยละ ทรัพยากรป่า และการได้เข้ารับการฝึกอบรมอย่างมีนัย
9.09, 6.06, 3.79 และ 2.27 ตามล�าดับ ส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05