Page 90 -
P. 90

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 100                       Thai J. For. 35 (1) : 98-106 (2016)




                 ที่จะใช้อาบน�้ายาไม้ที่จะน�าไปใช้ประโยชน์เป็นเฟอร์นิเจอร์  Furfuryl alcohol + Boric acid (H BO ) 0.5 mol/l
                                                                                           3
                                                                                        3
                 และเครื่องเรือนได้ นอกจากนี้เป็นตัวยาที่หาได้ง่ายและ  (อัตราส่วน 4:1) ได้ผลการทดลองว่า กรดบอริก (Boric
                 มีราคาถูก (Eaton and Hale, 1993) แต่สารประกอบ  acid) จะถูกชะล้างไปอย่างง่ายดาย และโบรอนจะมีอัตรา
                 โบรอนมีข้อเสียที่ถูกชะล้างจากน�้าได้ง่าย  ด้วยเหตุนี้จึง  การถูกชะล้างเป็นปริมาณสูงในระยะแรก (512 ppm.)

                 มีการน�าสารเฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์ที่ผลิตได้จากของ  แต่เมื่ออาบน�้ายาไม้ด้วยเฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์ผสมกับ
                 เหลือทางการเกษตร คือจากซังข้าวโพดและชานอ้อย  สารประกอบโบรอน มีผลการทดลองแสดงออกมาว่า
                 ซึ่งผ่านกระบวนการทางอุตสาหกรรมโดยการลดตัวเร่ง  โบรอนถูกชะล้างในอัตราที่ลดลง และชิ้นไม้ตัวอย่าง

                 ปฏิกิริยา (Goldstein, 1960) โดยเปลี่ยนเฟอร์ฟูรอล   ที่ท�าการอาบน�้ายาแล้วจะมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น
                 เป็นเฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์ โดยปฏิกิริยาไฮดรอจิเนชั่น      วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย เพื่อตรวจ
                 (Hydrogenetion) สารเฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์เป็นสาร  หาอัตราการชะล้างของไม้ยางพาราที่อาบน�้ายาด้วย
                 ที่มีโมเลกุลขนาดเล็กจึงสามารถอัดเข้าไปในเนื้อไม้ได้  กรดบอริก กรดบอริกผสมบอแรก กรดบอริกผสมกับ
                 โดยง่าย (Goldstein, 1995; Yun, 1991)  การอาบน�้ายา  เฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์ และกรดบอริกผสมบอแรกผสม

                 ไม้ด้วยสารประกอบโบรอนผสมเฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์  มี  กับเฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์
                 จุดประสงค์เพื่อลดการชะล้างสารโบรอน เป็นการปรับปรุง
                 ความทนทานต่อศัตรูท�าลายไม้ให้นานยิ่งขึ้น (Baysal       อุปกรณ์ และวิธีกำร

                 et al., 2004)                               กำรอำบน�้ำยำชิ้นไม้ยำงพำรำ
                        การอาบน�้ายาไม้ตามกรรมวิธีสุญญากาศ           แปรรูปไม้ยางพาราขนาด 5.08 × 2.54 × 0.5
                 (Vacuum process) ท�าโดยวัดขนาดไม้ทดลองเป็นมิลลิเมตร   เซนติเมตร น�ามาชั่งหาน�้าหนักก่อนอาบน�้ายา แล้ว
                 ค�านวณหาปริมาตรแล้วน�าไปชั่งหาน�้าหนัก (T ) เป็น  อาบน�้ายาไม้ด้วยกรดบอริกความเข้มข้น 1% กรดบอริก
                                                   1
                 กรัม น�าไม้ทดลองใส่กระบะเหล็ก ใช้ตะแกรงเหล็กทับ  ผสมบอแรกความเข้มข้น 1% กรดบอริกผสมกับเฟอร์ฟูริล

                 กันลอย ตวงน�้ายารักษาเนื้อไม้ตามปริมาณที่ค�านวณ ไว้  แอลกอฮอล์ความเข้มข้น 1% และกรดบอริกผสม
                 วัดปริมาตรก่อนท�าการทดลอง เติมน�้ายาลงในกระบะ  บอแรกผสมกับเฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์ความเข้มข้น 1%
                 เหล็ก ท�าสุญญากาศ 24 นิ้วปรอท หรือ 63 เซนติเมตร  โดยกรรมวิธีอาบน�้ายาไม้แบบสุญญากาศ (Vacuum

                 ปรอท  นาน 30 นาที เปิดลิ้นให้เข้าสู่บรรยากาศ ทิ้งไว้    process) แล้วน�ามาชั่งน�้าหนักหลังอาบน�้ายา จดบันทึก
                 30 นาที น�าไม้ออกมาวางบนตะแกรงปล่อยทิ้งไว้จน  จากนั้นค�านวณหาปริมาณตัวยาเข้าไปในเนื้อไม้ (Retention)
                 หมาด น�ามาชั่งน�้าหนักที่เพิ่มขึ้น (T ) วัดปริมาตรน�้ายา  ในสูตร (1)
                                          2
                 ที่เหลือหลังจากการทดลอง (Veenin, 2006)      สูตร    ปริมาณรับน�้ายา (Retention)
                        การตรวจหาอัตราการชะล้าง Baysal et al.           (T - T )   C    3  3

                 (2004) ได้ท�าการอาบน�้ายาไม้ด้วยวิธีสุญญากาศ โดยใช้     =     2 V  1  × 100  ×10  kg/m    (1)
                 สาร Boric acid (H BO ) 1% (w/w), Furfuryl alcohol,   จาก   T   =  น�้าหนักก่อนอาบ (กรัม)
                                                                      1
                                 3
                              3
                 Furfuryl alcohol + Ammonium Biborate (NH ) B O .4H 0      T  2   =  น�้าหนักหลังอาบ (กรัม)
                                                      2
                                              4 2 4 7
                 0.25 mol/l (อัตราส่วน 1:1), Furfuryl alcohol + Ammonium      V  =  ปริมาตรไม้ (ลูกบาศก์เซนติเมตร)
                 Borate (NH ) O.8H 0 0.25 mol/l (อัตราส่วน 1:1) และ      C  =  ความเข้มข้นน�้ายา (เปอร์เซ็นต์)
                               2
                         4 2
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95