Page 89 -
P. 89

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                         วารสารวนศาสตร 35 (1) : 98-106 (2559)                     99
                                                        ์



                 เฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์ความเข้มข้น 1% การทดสอบการชะล้างปฏิบัติตามมาตรฐาน American Wood Preservation
                 Association Standard  (AWPA) E1-06 และตามมาตรฐาน British Standard Method (BS 5688: Part 1)
                        ผลการทดลองพบว่าไม้ยางพาราอาบน�้ายาที่มีปริมาณกรดบอริกถูกชะล้างมากที่สุดในการชะล้างครั้งแรกคือ
                 ไม้ยางพาราที่อาบน�้ายาด้วยกรดบอริกความเข้มข้น 1%  มีปริมาณกรดบอริกถูกชะล้างเฉลี่ยร้อยละ 0.4361 รองลงมา
                 คือไม้ยางพาราที่อาบน�้ายาด้วยกรดบอริกผสมบอแรกความเข้มข้น 1%   กรดบอริกผสมบอแรกผสมเฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์
                 ความเข้มข้น 1% และกรดบอริกผสมเฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์ความเข้มข้น 1% มีปริมาณกรดบอริกถูกชะล้างเฉลี่ย

                 ร้อยละ 0.4035, 0.3590 และ 0.3354 ตามล�าดับ แต่เมื่อท�าการทดลองชะล้างรวม 9 ครั้ง ผลการทดลองพบว่าไม้ยางพารา
                 ที่อาบน�้ายาด้วยกรดบอริกผสมบอแรกความเข้มข้น 1%  มีปริมาณกรดบอริกถูกชะล้างรวมมากที่สุดเฉลี่ยร้อยละ
                 1.7270 รองลงมา คือ ไม้ยางพาราที่อาบน�้ายาด้วยกรดบอริกที่ความเข้มข้น 1% กรดบอริกผสมเฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์
                 ที่ความเข้มข้น 1% และกรดบอริกผสมบอแรกผสมเฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์ความเข้มข้น 1%  มีปริมาณกรดบอริกถูก

                 ชะล้างรวมเฉลี่ยร้อยละ 1.5147, 1.3130 และ1.2567 ตามล�าดับ
                        จากผลการทดลองนี้แสดงว่า เฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์สามารถลดการชะล้างของกรดบอริกออกจากไม้ยางพารา
                 อาบน�้ายาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                 ค�ำส�ำคัญ: เฟอร์ฟูริล แอลกอฮอล์ สารประกอบโบรอน วิธีการอาบน�้ายาไม้ การทดสอบการชะล้าง


                                 ค�ำน�ำ                      การผลิตไม้ยางพาราท่อนเฉลี่ยปีละ 8.58 ล้านลูกบาศก์


                        ในปัจจุบันประชากรโลกมีจ�านวนเพิ่มขึ้น  เมตร และมีปริมาณการผลิตไม้ยางพาราแปรรูปเฉลี่ยปีละ
                 จากในอดีตหลายเท่าตัว ส่งผลให้ความต้องการใช้ไม้  1.80  ล้านลูกบาศก์เมตร ขณะที่มีความต้องการใช้ไม้ปีละ
                 มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย ทรัพยากรป่าไม้ที่มีอยู่  3.07 ล้านลูกบาศก์เมตร ผลิตได้เพียงร้อยละ 41.35 ของ
                 อย่างจ�ากัดลดลงอย่างรวดเร็ว ท�าให้ไม้ที่มีความทนทาน  ความต้องการทั้งหมด ในขณะที่มีโรงงานแปรรูปไม้
                 ต่อศัตรูท�าลายไม้จ�าพวกเชื้อราและแมลงสูง เช่น ไม้สัก   อบแห้งมีก�าลังผลิตรวมกว่า 5 ล้านลูกบาศก์เมตร มูลค่า

                 ไม้เต็ง ไม้มะค่า ฯลฯ ลดลงจากในอดีตมาก ท�าให้ไม้  การส่งออกไม้ยางพาราแปรรูป 21,850.18 ล้านบาท
                 จ�าพวกนี้หายากและราคาแพงมาก ในปัจจุบันแม้ว่าจะ  (Rubber Research Institute of Thailand Ministry of
                 มีการคิดค้นท�าไม้ประกอบ (Wood Composites) แต่  agriculture and Cooperatives, 2012) ไม้ยางพาราเป็น
                 ก็ยังไม่เพียงต่อความต้องการ จึงจ�าเป็นต้องน�าไม้ที่มี  ไม้ที่มีอายุค่าความทนทานตามธรรมชาติต�่ามีค่าความ
                 ความทนทานต่อศัตรูท�าลายไม้ต�่า เช่น ไม้ยางพารามา  ทนทานตามธรรมชาติเฉลี่ย 1.9  ปี (พิสัย 0.5-3.8) (Veenin
                 ทดแทน ในปัจจุบันมีการปลูกยางพารากันอย่างแพร่หลาย   et al., 1990)  ดังนั้นก่อนน�าไม้ยางพาราไปใช้ประโยชน์
                 เพราะไม้ยางพารามีประโยชน์หลายด้าน เช่น มีทั้ง  จึงควรต้องท�าการอาบน�้ายารักษาเนื้อไม้เสียก่อน

                 ประโยชน์ทางด้านน�้ายางพารา และประโยชน์จากเนื้อไม้      สารประกอบโบรอนเป็นสารเคมีที่ใช้ส�าหรับ
                 ท�าให้ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส�าคัญและน�ารายได้  การอาบน�้ายาเนื้อไม้ ที่สามารถป้องกันศัตรูท�าลายไม้ได้
                 เข้าสู่ประเทศเป็นจ�านวนมาก ปริมาณการผลิตไม้ยางพารา  เหมาะส�าหรับใช้ในการอาบน�้ายาป้องกันรักษาเนื้อไม้
                 ของไทย ปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยมีเนื้อที่ปลูกยาง   ยางพารา เนื่องจากสารประกอบโบรอนเป็นตัวยาที่ไม่
                 18,761,231 ไร่ ปริมาณการผลิตไม้ยางพาราช่วงปี พ.ศ.   ท�าให้ไม้เสียสี ปลอดภัยต่อมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อม

                 2549-2554 มีเนื้อที่ตัดโค่นเฉลี่ยปีละ 211,963 ไร่ ปริมาณ  เป็นสารที่สามารถจับต้องได้โดยไม่เกิดอันตราย เหมาะสม
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94