Page 84 -
P. 84

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 94                        Thai J. For. 35 (1) : 86-97 (2016)



                        ระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐาน ทดสอบโดย    ราษฎรกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 3  กลุ่ม คือ ไม่เป็นสมาชิก

                ใช้สถิติ F-test โดยแบ่งระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐาน   กลุ่มทางสังคม เป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคมกลุ่มเกษตรกร
                ออกเป็น 3 ช่วงเวลา คือ ราษฎรที่มีระยะเวลาในการ  และ กลุ่มอื่นๆพบว่า ราษฎรที่มีการเป็นสมาชิกกลุ่มทาง
                ตั้งถิ่นฐาน 1-10 ปี 11-20 ปี และมากกว่า 20 ปี ขึ้นไป   สังคมต่างกันมีการพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ในป่าชุมชนบ้าน
                พบว่า ราษฎรที่มีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐานต่างกันมี  หนองผักไรแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ
                การพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ในป่าชุมชนบ้านหนองผักไร  0.05 ในด้านการเก็บหาฟืน และการเก็บหาพืชสมุนไพร
                แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ใน  จึงยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้ เมื่อทดสอบความแตกต่าง
                ด้านการเก็บหาเห็ด และการเก็บหาน�้าผึ้ง จึงยอมรับ  เป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Scheffe’ พบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่าง
                สมมติฐานที่ตั้งไว้ เมื่อท�าการทดสอบความแตกต่างเป็น  ที่มีการเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคมกลุ่มเกษตรกร มีการ
                รายคู่ด้วยวิธีของ Scheffe’พบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่มี

                ระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐาน 1-10 ปี มีการเก็บหาเห็ด (x =   เก็บหาฟืน (x = 0.26 ลูกบาศก์เมตร) มากกว่าราษฎร
                15.69 กิโลกรัม) และน�้าผึ้ง (x = 1.31 ขวด) มากกว่าราษฎร  กลุ่มตัวอย่างที่มีการเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคมกลุ่มอื่นๆ
                กลุ่มตัวอย่างที่มีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐาน 11-20 มี  (x = 0.10 ลูกบาศก์เมตร)  อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่
                การเก็บหาเห็ด (x = 2.81 กิโลกรัม) และน�้าผึ้ง (x = 0.54   ระดับ 0.05 และ ราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่มีการเป็นสมาชิก
                ขวด)  และมากกว่า 20 ปี มีการเก็บหาเห็ด (x = 4.10   กลุ่มทางสังคมกลุ่มเกษตรกร มีการเก็บหาพืชสมุนไพร
                กิโลกรัม) และน�้าผึ้ง (x = 0.40 ขวด) อย่างมีนัยส�าคัญ  (x = 10.57 กิโลกรัม) มากกว่าราษฎรที่ไม่เป็นสมาชิก
                ทางสถิติที่ระดับ 0.05                        กลุ่มทางสังคม (x = 2.44 กิโลกรัม) และกลุ่มอื่นๆ (x =

                        รายได้ของครัวเรือน ทดสอบโดยใช้สถิติ   1.12 กิโลกรัม) อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
                F-test โดยแบ่งรายได้ต่อปีในครัวเรือนของราษฎรกลุ่ม     ความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ทดสอบ
                ตัวอย่างออกเป็น 5  กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีรายได้น้อยกว่า  โดยใช้สถิติ t-test โดยแบ่งระดับความรู้ในการอนุรักษ์
                หรือเท่ากับ 50,000 บาท  มีรายได้อยู่ 50,001 - 100,000   ทรัพยากรป่าไม้ของราษฎรกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม
                บาท 100,001-150,000 บาท 150,001- 200,000 บาท   คือความรู้ในระดับต�่า และระดับสูง  พบว่าราษฎรที่มี
                และมากกว่า  200,000 บาท พบว่า ราษฎรที่มีรายได้ต่างกัน  ความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ต่างกันมีการพึ่งพิง
                มีการพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ในป่าชุมชนบ้านหนองผักไร  ทรัพยากรป่าไม้ในป่าชุมชนบ้านหนองผักไรแตกต่าง
                แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ใน  กัน อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในด้านการ
                ด้านการเก็บหาแมลงกินได้ จึงยอมรับสมมติฐานที่ตั้ง  เก็บหาฟืน จึงยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้ โดยราษฎรกลุ่ม

                ไว้ เมื่อท�าการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธี  ตัวอย่างที่มีความรู้ในระดับสูงมีการเก็บหาไม้ฟืน (x =
                ของ Scheffe’ พบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้
                100,001-150,000 บาท มีการเก็บหาแมลงกินได้ (x =   0.15 ลูกบาศก์เมตร) มากกว่าราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่มี
                2.01 กิโลกรัม) มากกว่าราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้  ความรู้ในระดับต�่า (x = 0.06 ลูกบาศก์เมตร) อย่างมีนัย
                น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50,000 (x = 0.99 กิโลกรัม) รายได้    ส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
                50,001-100,000 บาท (x = 0.86 กิโลกรัม) และรายได้      การได้เข้ารับการฝึกอบรมของป่าชุมชน
                มากกว่า 200,000 บาท (x = 0.54 กิโลกรัม)  อย่างมีนัย  ทดสอบโดยใช้สถิติ t-test โดยแบ่งการเข้ารับการฝึก

                ส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05                  อบรมของราษฎรกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม คือไม่เคย
                        การเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม ทดสอบโดยใช้  เข้ารับการฝึกอบรม กับเคยเข้ารับการฝึกอบรม พบว่า
                สถิติ F-test โดยแบ่งการเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคมของ  ราษฎรที่เคยเข้ารับการฝึกอบรม ต่างกันมีการพึ่งพิง
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89