Page 61 -
P. 61

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 35 (1) : 45-61 (2559)                     59
                                                         ์



                        ปริมาณผลผลิตซากพืชรวมทั้งหมดมีความ   ใหญ่จึงเป็นใบใหม่ ยังเขียวอยู่ ดังนั้นใบที่จะร่วงหล่น
                 สัมพันธ์ในทางตรงกันข้ามกับปริมาณน�้าฝน อุณหภูมิ  ลงมาในระยะนี้จึงมีเฉพาะใบที่หมดอายุ และใบที่เป็น
                 และความชื้นสัมพัทธ์ (Figure 5) กล่าวคือ เมื่อปริมาณ  โรคหรือถูกแมลงท�าลายเท่านั้น ซึ่งก็มีปริมาณเล็กน้อย
                 น�้าฝนน้อย อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ต�่า หมู่ไม้จะ  ท�าให้มีปริมาณการร่วงหล่นในระยะนี้น้อยด้วย (Figure 3
                 มีการทิ้งใบเพื่อลดการคายน�้า จึงท�าให้ปริมาณผลผลิต  และ Figure 4)

                 ซากพืชที่เป็นใบมีมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษา
                 ปริมาณผลผลิตซากพืชในป่าเขตร้อนชื้นในประเทศ                   สรุป
                 ออสเตรเลียของ Spain (1984) และผลการศึกษาของ

                 Williams-Linera et al. (1996) ที่ท�าการศึกษาปริมาณ     1. จากการศึกษาปริมาณการร่วงหล่นของ
                 ผลผลิตซากพืชในป่าเขตร้อนชื้นในประเทศเม็กซิโก   ซากพืชในสังคมต่างๆ ในแต่ละเดือนตลอดระยะเวลา
                                                             การศึกษา 12 เดือน พบว่าสังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟู
                 โดยปริมาณการร่วงหล่นของซากพืชของสังคมป่าไม้  พื้นที่ผ่านการท�าเหมืองแร่ (เหมืองแม่เมาะ) มีปริมาณ
                 แต่ละชนิดนั้นแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ โดย   การร่วงหล่นของซากพืชสูงสุด ประมาณ 8.43 ตันต่อ
                 Klinge (1974) กล่าวว่า ใบของต้นไม้ในป่าร้อนชื้นจะ  เฮกแตร์ต่อปี รองลงมาคือ สังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟู

                 ร่วงหล่นตลอดทั้งปี และจะมีอัตราการร่วงหล่นสูงสุดใน  ระบบนิเวศ (ป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ) ประมาณ 7.99
                 ระหว่างฤดูแล้งและฤดูร้อนระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึง  ตันต่อเฮกแตร์ต่อปี และน้อยที่สุดคือ สังคมพืชที่ได้จาก
                 เดือนมีนาคม ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Jampanin   การฟื้นฟูแบบเพิ่มผลผลิต (สวนป่าแม่เมาะ) ประมาณ

                 (2004) และสอดคล้องกับผลการศึกษาในครั้งนี้ กล่าวคือ   5.12 ตันต่อเฮกแตร์ต่อปี ซึ่งสาเหตุสังคมพืชที่ได้จาก
                 เมื่อพิจารณาถึงปริมาณการร่วงหล่นของซากพืชรายเดือน   การฟื้นฟูพื้นที่ผ่านการท�าเหมืองแร่นั้นมีปริมาณการ
                 จะพบว่า สังคมพืชต่างๆ มีปริมาณการร่วงหล่นของซาก  ร่วงหล่นของซากพืชนั้นอาจเกิดจาก ค่าความหนาแน่น
                 พืชมากที่สุดในช่วงฤดูแล้ง (เดือนตุลาคมถึงเดือน  ของต้นไม้ที่มีค่าสูงที่สุดในกลุ่ม อีกทั้งยังมีจ�านวนชนิด
                 เมษายน) และน้อยที่สุดในช่วงฤดูฝน (เดือนพฤษภาคม  พันธุ์ที่พบและขนาดพื้นที่หน้าตัดที่สูงและอยู่ในระดับ

                 ถึงเดือนกันยายน) ซึ่งสาเหตุที่ในช่วงเดือนกันยายนถึง  รองลงมาของกลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ
                 เดือนเมษายนมีปริมาณการร่วงหล่นของซากพืชมาก   Kunhamu et al. (2009) และ Celentano et al. (2011)
                 อาจเนื่องมาจากช่วงเวลาดังกล่าวมีสภาพอากาศที่ค่อน  จึงท�าให้สังคมดังกล่าวปริมาณการร่วงหล่นของซาก

                 ข้างแห้งแล้ง มีปริมาณฝนตกน้อยมาก ความชื้นใน  พืชสูงที่สุด
                 อากาศต�่า ท�าให้ต้นไม้ขาดน�้า จึงจ�าเป็นต้องทิ้งใบเพื่อ     2. ซากพืชที่ร่วงหล่นรายปีของสังคมพืชต่างๆ
                 ลดการคายน�้า ส่วนสาเหตุที่ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึง  พบว่าน�้าหนักแห้งของส่วนที่เป็นใบ กิ่ง เปลือก ส่วน
                                                             สืบพันธุ์ และซากพืชรวม มีความแตกต่างกันอย่างมี
                 เดือนกันยายน มีปริมาณการร่วงหล่นของซากพืชน้อย   นัยส�าคัญทางสถิติ โดยส่วนใหญ่แล้วปริมาณซากพืช
                 เนื่องจากระยะนี้อยู่ในช่วงฤดูฝน สภาพอากาศค่อนข้าง  ส่วนต่างๆ ของสังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูพื้นที่ผ่าน

                 ชุ่มชื้น จ�านวนวันและปริมาณน�้าฝนค่อนข้างสูง ท�าให้  การท�าเหมืองแร่ (เหมืองแม่เมาะ) จะถูกจัดอยู่ในกลุ่ม
                 มีปริมาณน�้าเพียงพอกับการเติบโตของต้นไม้ ประกอบกับ  เดียวกับสังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูระบบนิเวศ (ป่า
                 ต้นไม้มีการคายน�้าลดลง ต้นไม้จึงไม่ต้องทิ้งใบลงเพื่อ  ถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ) อันเนื่องมาจากชนิดพันธุ์ที่

                 ลดการคายน�้า และเป็นระยะที่ต้นไม้พยายามสร้างใบ  พบในพื้นที่ทั้งสองแห่งนั้นมีความหลากหลายสูงกว่า
                 ใหม่ขึ้นมาทดแทนส่วนที่สูญเสียไปในฤดูร้อน ใบส่วน  สังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูแบบเพิ่มผลผลิต (MMP)
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66