Page 57 -
P. 57

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 35 (1) : 45-61 (2559)                     55
                                                         ์



                        เมื่อท�าการวิเคราะห์ทางสถิติของน�้าหนักแห้ง  ในสังคมป่าเบญจพรรณตามธรรมชาติ บริเวณบ้าน
                 ส่วนต่างๆของซากพืชที่ร่วงหล่นรายปีของสังคมพืช  ช้างรื้อ (7.95 ตันต่อเฮกแตร์ต่อปี) และป่าเบญจพรรณ
                 ต่างๆ พบว่าน�้าหนักแห้งของส่วนที่เป็นใบ กิ่ง เปลือก   ที่ก�าลังฟื้นสภาพ บริเวณบ้านกร่าง (7.12 ตันต่อเฮกแตร์
                 ส่วนสืบพันธุ์ และซากพืชรวม มีความแตกต่างกันอย่าง  ต่อปี) ภายในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัด
                 มีนัยส�าคัญทางสถิติ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วสังคมพืช  เพชรบุรี (Jampanin, 2004) และสังคมป่าเบญจพรรณ

                 ที่ได้จากการฟื้นฟูพื้นที่ผ่านการท�าเหมืองแร่ (เหมือง  ตามธรรมชาติ สถานีวิจัยเพื่อรักษาต้นน�้าแม่กลอง
                 แม่เมาะ) จะถูกจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับสังคมพืชที่ได้จาก  อ�าเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี (6.47 ตันต่อเฮกแตร์
                 การฟื้นฟูระบบนิเวศ (ป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ) อัน  ต่อปี) (Apichatmeatee, 1996) แสดงให้เห็นว่าการฟื้นฟู

                 เนื่องมาจากชนิดพันธุ์ที่พบในพื้นที่ทั้งสองแห่งนั้นมี  ป่าในสังคมพืชที่เสื่อมโทรม นั้นท�าให้การท�าหน้าที่
                 ความหลากหลายสูงกว่าสังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟู  ทางระบบนิเวศในแง่ของผลผลิตเศษซากพืชนั้นกลับคืน
                 แบบเพิ่มผลผลิต (MMP) ซึ่งในความหลากชนิดนั้นก็  มาได้ใกล้เคียงหรือมากกว่าป่าธรรมชาติ โดยใช้ระยะ
                 ท�าให้แต่ละชนิดพันธุ์จะมีชั้นเรือนยอดที่แตกต่างกัน  เวลาเพียงแค่ประมาณ 16 ปี ในขณะที่สังคมพืชที่ได้
                 ไปมาก ชนิดพันธุ์ต่างๆจึงสามารถเติบโตและสร้าง  จากการฟื้นฟูแบบเพิ่มผลผลิต (สวนป่าแม่เมาะ) นั้นมี

                 ชั้นเรือนยอดที่แตกต่างกันได้มากยิ่งขึ้น (Sahunalu,   ปริมาณการร่วงหล่นของซากพืชน้อยกว่าสังคมอื่นๆ
                 1987) แม้ว่าจ�านวนชนิดพันธุ์ที่พบในสองสังคมจะ  เนื่องมาจากระบบการปลูกสร้างสวนป่าที่ปลูกไม้มีค่า
                 แตกต่างกัน (8 ชนิด (MM) และ 17 ชนิด (FPT)) แต่  ทางเศรษฐกิจเพียงชนิดเดียว และมีระยะปลูกค่อนข้าง

                 เนื่องด้วยค่าความหนาแน่นของไม้และปริมาณมวล  ห่าง จึงท�าให้ผลผลิตเศษซากพืชนั้นมีปริมาณน้อยกว่า
                 ชีวภาพเหนือพื้นดินที่ค่อนข้างสูงและมีค่าใกล้เคียงกัน  ป่าธรรมชาติ
                 ของทั้งสองสังคม (Table 1) ซึ่งมวลชีวภาพเหนือ
                 พื้นดินของไม้ในสังคมนั้นเป็นต้นทุนที่ส่งผลต่อปริมาณ  ปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อปริมำณผลผลิตซำกพืช
                 การสร้างผลผลิตซากพืช (Sahunalu, 1987) จึงส่งผล  รวมทั้งหมด

                 ท�าให้ปริมาณของซากพืชมีค่าสูงใกล้เคียงกัน แตกต่าง     เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยอื่นๆ ที่ท�าการศึกษาใน
                 กับสังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูแบบเพิ่มผลผลิต (MMP)   ครั้งนี้ กล่าวคือ ลักษณะเชิงปริมาณในสังคมต่างๆ พบว่า
                 ที่มีการปลูกแบบระบบสวนป่าชนิดพันธุ์เดียวเป็นหลัก   จ�านวนชนิดพันธุ์ที่พบ ความสูงของไม้ พื้นที่หน้าตัด

                 (4 ชนิด) จึงท�าให้ระดับชั้นเรือนยอดของหมู่ไม้ในสังคม  ของไม้ ความหนาแน่นของไม้ และปริมาณมวลชีวภาพ
                 มีความแตกต่างกันน้อย อีกทั้งความหนาแน่นของ  เหนือพื้นดิน มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับ
                 หมู่ไม้และปริมาณมวลชีภาพเหนือพื้นดินยังมีค่าน้อย  ปริมาณผลผลิตซากพืชรวมทั้งหมด กล่าวคือ เมื่อ
                 กว่าสังคมอื่นๆ (Table 3) ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษา  ลักษณะเชิงปริมาณดังที่กล่าวมาข้างต้นมีค่าเพิ่มขึ้น ก็
                 ของ Kunhamu et al. (2009) และ Celentano et al. (2011)  จะส่งผลให้ปริมาณผลผลิตซากพืชทั้งหมดเพิ่มมากขึ้น

                        เมื่อเปรียบเทียบผลการศึกษาอื่นๆ พบว่า  ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ Kunhamu et al.
                 สังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูแบบเพิ่มผลผลิต (สวนป่า  (2009) ที่ศึกษาผลของการตัดสางขยายระยะสวนป่า
                 แม่เมาะ) และ สังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูระบบนิเวศ   Acacia mangium ในประเทศอินเดีย โดยพบว่าปริมาณ

                 (ป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ) นั้นมีปริมาณการร่วงหล่น  ผลผลิตซากพืชของแปลงที่ไม่ได้ท�าการตัดสาง (ความ
                 ของซากพืชสูงกว่า ปริมาณการร่วงหล่นของซากพืช  หนาแน่นของไม้สูง) จะมีปริมาณซากพืชมากกว่าแปลง
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62