Page 52 -
P. 52
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
50 Thai J. For. 35 (1) : 45-61 (2016)
(Hassk.) Merr.) กระพี้จั่น (Millettia brandisiana Kurz) ฟื้นฟู จากการศึกษาลักษณะสังคมพืช พบจ�านวนพรรณไม้
คูน (Cassia fistula L.) และแดง (Xylia xylocarpa (Roxb.)) ทั้งหมด 34 ชนิด เช่น สัก (Tectona grandis Linn. f.)
เป็นต้น ลักษณะเชิงปริมาณของสังคมพืชต่างๆ ได้แสดง ตองแตบ (Macaranga denticulata (Blume) Müll.
รายละเอียดไว้ใน Table 1 Arg.) แดง (Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. kerrii)
สังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูระบบนิเวศ (ป่า มะกอกป่า (Spondias pinnata (L.f.) Furz.) ข้าวสารป่า
ถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ) (FPT) เป็นสังคมพืชที่ได้จาก (Pavetta tomentosa Roxb. ex Smith) ยาบใบยาว (Colona
การด�าเนินการปลูกป่าเพื่อมุ่งเน้นเพื่อฟื้นฟูพื้นที่ flagrocarpa (C.B. Clarke) Craib) ยมหิน (Chukrasia
ป่าเสื่อมโทรมให้กลับคืนสู่สภาพป่าดั้งเดิมซึ่งเป็น velutina Roem.) งิ้วป่า (Bombax anceps Pierre) และกุ๊ก
ป่าเบญจพรรณ โดยป่ามีองค์ประกอบและสามารถ (Lannea coromandelica (Houtt.)) เป็นต้น และพบพืช
ท�าหน้าที่ได้ใกล้เคียงป่าดั้งเดิมได้มากที่สุด จึงจ�าเป็น จ�าพวก ไผ่ (Bambusa spp.) ซึ่งขึ้นปะปนตามธรรมชาติ
ต้องมีความหลากหลายของชนิดไม้ใกล้เคียงกับ อีกด้วย ลักษณะเชิงปริมาณของสังคมพืชต่างๆ ได้แสดง
ป่าดั้งเดิม จึงท�าการคัดเลือกพันธุ์ไม้ท้องถิ่นมาปลูก รายละเอียดไว้ใน Table 1
Table 1 Quantitive characteristics of plant communities restored by different process at Mae
Moh district, Lampang province.
Above ground
Number of DBH Height Basal area Tree density
Site biomass
species (cm.) (m.) (m /ha) (tree/ha)
2
(tonne/ha)
MM 8±2 a 13.73±1.14 12.36±1.48 17.18±2.82 1,121±168 95.93±17.59
MMP 4±4 a 14.43±1.44 11.58±1.20 15.05±0.73 734±100 72.11±10.99
FPT 17±6 b 12.90±2.39 12.20±1.83 17.40±5.47 984±191 97.03±27.78
F-value 7.303* 0.583 ns 0.220 ns 0.392 ns 4.638 ns 1.485 ns
Remark: mean±SD
ปริมำณผลผลิตซำกพืชรวมทั้งหมด ในสังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูแบบเพิ่มผลผลิต
ในสังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูพื้นที่ผ่าน (MMP) พบว่ามีปริมาณผลผลิตซากพืชรวมทั้งหมด
การท�าเหมืองแร่ (MM) พบว่ามีปริมาณผลผลิตซากพืช ประมาณ 5.12 ตันต่อเฮกแตร์ต่อปี โดยในเดือนพฤศจิกายน
รวมทั้งหมดประมาณ 8.43 ตันต่อเฮกแตร์ต่อปี โดย
ในเดือนพฤศจิกายนมีปริมาณผลผลิตซากพืชรวม มีปริมาณผลผลิตซากพืชรวมทั้งหมดมากที่สุด ประมาณ
ทั้งหมดมากที่สุด ประมาณ 1.22 ตันต่อเฮกแตร์ (ร้อยละ 1.08 ตันต่อเฮกแตร์ (ร้อยละ 21.00 ของปริมาณผลผลิต
14.50 ของปริมาณผลผลิตซากพืชในรอบปี) และใน ซากพืชในรอบปี) และในเดือนเมษายนมีปริมาณผลผลิต
เดือนพฤษภาคมมีปริมาณผลผลิตซากพืชรวมน้อยที่สุด ซากพืชรวมน้อยที่สุด ประมาณ 0.14 ตันต่อเฮกแตร์
ประมาณ 0.46 ตันต่อเฮกแตร์ (ร้อยละ 5.42 ของปริมาณ (ร้อยละ 2.78 ของปริมาณผลผลิตซากพืชในรอบปี)
ผลผลิตซากพืชในรอบปี) อัตราส่วนซากพืชส่วนต่างๆ อัตราส่วนซากพืชส่วนต่างๆ สามารถเรียงล�าดับจากมาก
สามารถเรียงล�าดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ใบ กิ่ง ไปหาน้อยได้ดังนี้ ใบ กิ่ง ส่วนสืบพันธุ์ ส่วนอื่นๆ และ
ส่วนสืบพันธุ์ ส่วนอื่นๆ และเปลือก ประมาณร้อยละ เปลือก ประมาณร้อยละ 81.23, 8.34, 5.39, 3.25 และ
62.97, 22.04, 9.89, 4.32 และ 0.78 ตามล�าดับ (Table 2
และ Table 3) 1.79 ตามล�าดับ (Table 2 และ Table 3)