Page 54 -
P. 54
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
52 Thai J. For. 35 (1) : 45-61 (2016)
องค์ประกอบของซำกพืช ปริมาณผลผลิตซากพืชรวมรายเดือนของ
จากการศึกษาสามารถสรุปปริมาณการร่วง แต่ละสังคมพืช มีแนวโน้มผันแปรไปตามปริมาณผลผลิต
หล่นและองค์ประกอบของซากพืชรวมในสังคมพืชทั้ง ซากพืชส่วนที่เป็นใบ โดยปริมาณผลผลิตซากพืชรวม
3 สังคม ได้ดังนี้ ซากพืชที่เป็นใบมีมากที่สุดในสังคม กับปริมาณผลผลิตซากพืชส่วนที่เป็นใบมีปริมาณมากใน
พืช MMP รองลงมาคือ สังคมพืช FPT และสังคมพืช ระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคม สอดคล้องกับผล
MM ประมาณ 81.23, 67.82 และ 62.97 ของปริมาณซาก การศึกษาของ (Jampanin, 2004) ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวมี
พืชทั้งหมด ตามล�าดับ ซากพืชที่เป็นกิ่งมีมากที่สุดใน ปริมาณน�้าฝนน้อย อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ค่อน
สังคมพืช MM รองลงมาคือ สังคมพืช FPT และสังคม ข้างต�่า จึงเป็นไปได้ว่าในช่วงเวลาดังกล่าว หมู่ไม้มีการ
พืช MMP ประมาณ 22.04, 21.48 และ 8.34 ของปริมาณ ปรับตัวจากการขาดน�้าโดยการทิ้งใบเพื่อลดการคายน�้า
ซากพืชทั้งหมด ตามล�าดับ ซากพืชที่เป็นเปลือกมาก จึงท�าให้ปริมาณผลผลิตซากพืชที่เป็นใบมีมากขึ้น
ที่สุดในสังคมพืช MMP รองลงมาคือ สังคมพืช FPT (Spain, 1984) ส่วนปริมาณผลผลิตซากพืชที่เป็นกิ่ง
และสังคมพืช MM ประมาณ 1.79, 1.67 และ 0.78 ของ
ปริมาณซากพืชทั้งหมด ตามล�าดับ ซากพืชที่เป็นส่วน เปลือกและส่วนสืบพันธุ์นั้นมีปริมาณมากในช่วงปลาย
สืบพันธุ์มากที่สุดในสังคมพืช MM รองลงมาคือ สังคม ฤดูแล้งจนถึงช่วงฤดูฝน ซึ่งในช่วงฤดูฝนมักจะมีฝนตก
พืช FPT และสังคมพืช MMP ประมาณ 9.89, 6.14 และ และมีลมพัดแรง จึงท�าให้ผลผลิตซากพืชส่วนที่เป็น
5.39 ของปริมาณซากพืชทั้งหมด ตามล�าดับ ซากพืชส่วน กิ่ง เปลือกและส่วนสืบพันธุ์ที่แห้งกรอบในช่วงปลาย
อื่นๆ มากที่สุดในสังคมพืช MM รองลงมาคือ สังคม ฤดูแล้งได้รับความชื้นจากน�้าฝนและด้วยลมที่พัดแรง
พืช MMP และสังคมพืช FPT ประมาณ 4.32, 3.25 และ จึงท�าให้ผลผลิตซากพืชส่วนดังกล่าวมีปริมาณการร่วง
2.89 ของปริมาณซากพืชทั้งหมด ตามล�าดับ (Table 3) หล่นมากในช่วงนี้ ดังแสดงใน Figure 3 และ Figure 4