Page 49 -
P. 49

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 35 (1) : 45-61 (2559)                     47
                                                         ์


                 เกิดขึ้นด้วยตัวเอง ชนิดไม้ที่น�ามาปลูกจึงต้องเป็นไม้ที่  อุปกรณ์ และวิธีกำร

                 เป็นไม้เบิกน�าที่มีลักษณะทนทานต่อพื้นที่เสื่อมโทรม  แปลงทดลอง
                 และแห้งแล้งได้ดี ซึ่งอาจเป็นไม้ต่างถิ่นก็ได้ เพื่อให้พืช     การศึกษาด�าเนินการโดยท�าการวางแปลง
                 สามารถปกคลุมในพื้นที่ได้บ้าง การฟื้นฟูผลผลิต (Forest   ตัวอย่างขนาด 40 × 20 เมตร เนื่องจากมีขนาดที่พอจะ

                 Rehabilitation) เป็นการฟื้นฟูในพื้นที่ป่าก�าลังฟื้นตัว   สามารถอธิบายลักษณะของสังคมพืชได้ และสามารถ
                 (secondary forest) หรือป่าดั้งเดิม (primary forest) ที่มี  จะเลือกต�าแหน่งแปลงตัวอย่างในพื้นที่ที่ด�าเนินการได้

                 ความเสื่อมโทรมซึ่งผลผลิตก�าลังตกต�่า โดยมีเป้าหมาย  อย่างเหมาะสม โดยแบ่งแปลงย่อยขนาด 10 × 10 เมตร
                                                             ติดตั้งกระบะรองรับซากพืช (litter trap) ทรงสี่เหลี่ยม
                 เพื่อฟื้นฟูผลผลิตให้กลับคืนมามากขึ้น ซึ่งผลผลิตที่  จตุรัส ท�าจากไม้ ขนาดหน้าตัด 1 × 1 เมตร ด้านบนเปิด
                 เพิ่มขึ้นนั้นอยู่ในรูปของเนื้อไม้ ชนิดไม้ที่ปลูกจึงอาจ  โล่ง ด้านล่างมีตาข่ายไนล่อนเป็นตัวรองรับซากพืช โดย

                 เป็นไม้ต่างถิ่นหรือไม้ท้องถิ่นที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจใน  ก้นตาข่ายมีความลึกประมาณ 0.7 เมตร แล้วน�ากระบะ
                 รูปแบบสวนป่าโดยมุ่งหวังให้พืชพรรณและสัตว์ป่า  รองรับซากพืชติดตั้งกับเสา โดยให้ปากกระบะรองรับ

                 ดั้งเดิมกลับคืนมาบางส่วนอีกด้วย และการฟื้นฟูระบบนิเวศ    ซากพืชสูงจากพื้นดิน 1 เมตร โดยท�าการติดตั้งที่บริเวณ
                 (Forest Restoration) เป็นการฟื้นฟูป่าโดยมุ่งให้ระบบนิเวศ  กลางแปลงย่อยทุกแปลง (8 กระบะต่อ 1 แปลงตัวอย่าง)
                                                             (Figure 1) ในพื้นที่ป่าไม้ที่เกิดจากการฟื้นฟู 3 รูปแบบ
                 ดั้งเดิมกลับคืนมาอีกครั้งทั้งทางด้านผลผลิต โครงสร้าง  ซึ่งด�าเนินการปลูกมาแล้วประมาณ 15 ปี ในพื้นที่อ�าเภอ

                 ป่า และความหลากหลายทางชีวภาพ (FRIS, 2003)   เมาะ จังหวัดล�าปาง พื้นที่ละ 3 แปลง คือ พื้นที่ฟื้นฟูด้วย
                        ในการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรมแต่ละรูปแบบนั้น  การบูรณะให้เกิดผลผลิตใหม่ (Forest Reclamation) ใน

                 มีวิธีในการฟื้นฟูที่แตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อลักษณะทาง  บริเวณที่ผ่านมาท�าเหมืองมาแล้วในพื้นที่เหมืองแม่เมาะ
                 นิเวศวิทยาภายหลังการฟื้นฟูแตกต่างกันไปอีกด้วย ใน  ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (MM) พื้นที่
                 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงลักษณะ  ฟื้นฟูผลผลิต (Forest Rehabilitation) ในบริเวณสวนป่า
                                                             แม่เมาะขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (MMP) และ
                 เชิงปริมาณในแง่ของปริมาณการร่วงหล่นของซากพืช  พื้นที่ฟื้นฟูระบบนิเวศ (Forest Restoration) โดยโครงการ
                 ของสังคมพืชที่ผ่านการฟื้นฟูในรูปแบบที่แตกต่างกัน  ปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ ต�าบลจางเหนือ (FPT)
                 ในท้องที่อ�าเภอแม่เมาะ จังหวัดล�าปาง ซึ่งมีการทดลอง  ซึ่งทั้ง 3 พื้นที่มีระบบนิเวศป่าดั้งเดิมเป็นป่าเบญจพรรณ

                 ปลูกฟื้นฟูในพื้นที่ที่ผ่านการท�าเหมืองลิกไนต์ที่มีอายุ  (mixed deciduous forest) โดยในระหว่างท�าการศึกษา
                 ยาวนานที่สุดของเหมืองทางภาคเหนือ ซึ่งยังมีการศึกษา  นั้นไม่มีการจัดการกับไฟป่าและสัตว์ป่าที่จะเข้ามาใน

                 เกี่ยวกับสังคมพืชน้อยมาก เพื่อน�าผลที่ได้มาประเมิน  แปลง เนื่องจากการศึกษาในครั้งนี้ต้องการศึกษาปริมาณ
                                                             การร่วงหล่นของซากพืชภายใต้สภาพแวดล้อมจริงของ
                 ประสิทธิผลที่เกิดขึ้นของสังคมพืชที่ผ่านการฟื้นฟูใน  สังคมพืชต่างๆ โดยอุณหภูมิเฉลี่ยและปริมาณน�้าฝน
                 รูปแบบต่างๆ ซึ่งผลการศึกษาที่ได้สามารถน�าเป็นข้อมูล  เฉลี่ยในแต่ละเดือนของอ�าเภอแม่เมาะ จังหวัดล�าปาง

                 พื้นฐานเพื่อน�าไปศึกษาต่อไปในอนาคต          ปี 2554 ได้แสดงใน Figure 2
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54