Page 51 -
P. 51
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 35 (1) : 45-61 (2559) 49
์
กำรเก็บข้อมูลภำคสนำม ผลและวิจำรณ์
การเก็บข้อมูลภายในแปลงตัวอย่าง ประกอบ ลักษณะทั่วไปของสังคมพืช
ด้วยการเก็บข้อมูลชนิดไม้ทั้งหมด ข้อมูลการเติบโตของ สังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการ
ต้นไม้ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่ 4.5 ท�าเหมืองแร่ (เหมืองแม่เมาะ) (MM) เป็นสังคมพืช
เซนติเมตร ค�านวณปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินโดย ที่ได้จากการปลูกฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการท�าเหมืองแร่
ใช้สมการแอลโลเมตรีระบบนิเวศป่าเบญจพรรณ ของ ที่ท�าการตัดฟันต้นไม้และระเบิดหน้าดินออกทั้งหมด
Ogawa et al. (1965) ท�าการเก็บข้อมูลปริมาณการร่วง ท�าให้พื้นที่สภาพรุนแรงต่อการตั้งตัวและเติบโตของ
หล่นของเศษซากพืชโดยแยกเป็นปริมาณส่วนต่างๆ คือ ต้นไม้ได้ จึงได้มีการเตรียมพื้นที่โดยการน�าหินผุรอง
ใบ ดอก ผล และกิ่ง ของทุกเดือนที่ด�าเนินการศึกษาวิจัย พื้นและน�าหน้าดินที่ได้จากการเปิดหน้าเหมืองมาถม
เป็นเวลา 12 เดือน คือ ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2554 บนหน้าดินเพื่อปรับสภาพพื้นที่พอที่จะสามารถปลูกไม้
ไปจนถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 ให้อยู่รอดและสามารถที่จะเจริญเติบโตได้ด้วยตนเอง
และคัดเลือกพรรณไม้ท้องถิ่นที่เป็นไม้เบิกน�าผสมกับ
กำรวิเครำะห์ในห้องปฏิบัติกำร ไม้ท้องถิ่นอื่นๆ จากการศึกษาลักษณะเชิงปริมาณของ
น�าส่วนต่างๆ ของตัวอย่างซากพืชที่รองรับ สังคมพืช พบว่ามีจ�านวนพรรณไม้ทั้งหมด 16 ชนิด
ได้จากกระบะรองรับซากพืชในแต่ละเดือน น�ามาท�า เช่น สัก (Tectona grandis Linn. f.) จามจุรี (Samanea
ผึ่งลมให้แห้ง แล้วจึงท�าแยกประเภทเศษซากพืชใส่ถุง saman Merr.) ขี้เหล็ก (Cassia siamea Britt.) สีเสียดแก่น
กระดาษ คือ ใบ กิ่ง เปลือก ส่วนสืบพันธุ์ และอื่นๆ (Acacia catechu (L.f.) Willd.) มะขาม (Tamarindus
โดยระหว่างท�าการแยกตัวอย่างจะท�าการก�าจัดเศษดิน indica Linn.) กระถินณรงค์ (Acacia auriculiformis
ที่เกิดจากการกระดอนของเม็ดฝนออกไปด้วย แล้วจึง Cunn.) มะขามเทศ (Pithecellobium dulce Benth.) และ
น�าตัวอย่างมาอบในตู้อบที่อุณหภูมิ 85 องศาเซลเซียส กระถินยักษ์ (Leucaena sp.) เป็นต้น ลักษณะเชิงปริมาณ
เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 48 ชั่วโมง หรือจนน�้าหนักคงที่ ของสังคมพืชต่างๆ ได้แสดงรายละเอียดไว้ใน Table 1
(Bunyavejchewin et al., 1987 and Jampanin, 2004) สังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูแบบเพิ่มผลผลิต
เพื่อหาปริมาณในรูปของน�้าหนักแห้งของทุกเดือนที่ (สวนป่าแม่เมาะ) (MMP) เป็นสังคมพืชที่เป็นการปลูก
แบบสวนป่าชนิดเดียว คือไม้สัก ซึ่งเป็นไม้ที่มีส�าคัญ
ด�าเนินการศึกษาวิจัย ในสังคมพืชที่ได้จากการฟื้นฟูใน ทางเศรษฐกิจ มีการปลูกสร้างอย่างเป็นระบบและใช้วน
รูปแบบต่างๆ ซึ่งเป็นการบ่งบอกถึงลักษณะโครงสร้าง วัฒนวิธีเข้ามาจัดการเพื่อมุ่งเน้นผลผลิตในรูปเนื้อไม้ทั้ง
และหน้าที่ของหมู่ไม้ที่ได้รับ (Sahunalu, 1987) ด้านปริมาณและคุณภาพ ซึ่งสอดคล้องกับรูปแบบการ
ฟื้นฟูแบบเพิ่มผลผลิต แต่ในขณะเดียวกันก็มีพรรณไม้
กำรวิเครำะห์ข้อมูลทำงสถิติ ท้องถิ่นที่มีอยู่บ้างแล้ว และเกิดขึ้นมาใหม่ในพื้นที่เข้ามา
ท�าการวิเคราะห์ค่าความแตกต่างทางสถิติโดย บ้างตามช่องว่างของเรือนยอดไม้ใหญ่ อันเนื่องมาจาก
ใช้ Analysis of Variance (ANOVA) โดยวิเคราะห์ความ บริเวณสวนป่านั้นอยู่ใกล้กับป่าเบญจพรรณดั้งเดิม จาก
แตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยโดยใช้ Duncan’s Multiple การศึกษาลักษณะสังคมพืช พบจ�านวนพรรณไม้ทั้งหมด
Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เพื่อท�าการ 11 ชนิด เช่น สัก (Tectona grandis Linn. f.) ขี้นก (Litsea
วิเคราะห์เบื้องต้นของปริมาณผลผลิตซากพืชเฉลี่ยใน martabarnica (Kurz) L.f.) รกฟ้า (Terminalia alata
สังคมพืชที่ผ่านการฟื้นฟูในรูปแบบที่แตกต่างกัน Heyne ex Roth) ทองหลาง (Erythrina subumbrans