Page 118 -
P. 118
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
116 Thai J. For. 34 (1) : 112-121 (2015)
สมาชิกในครอบครัวช่วยกัน อัตราการจ้างงานบุคคล 2.4.2 ค่าเสียโอกาสที่ดินต่อเดือน ในการ
ภายนอกส่วนใหญ่เป็นด้านการผลิต ส่วนนิติบุคคล ท�าธุรกิจควรค�านวณพื้นที่ที่ใช้ประกอบการออกเป็น
1 รายมีอัตราการจ้างงานเช่นเดียวกับบริษัททั่วไป ค่าใช้จ่ายด้วย เนื่องจากพื้นที่ทุกที่สามารถสร้างรายได้
ให้กับเจ้าของที่ดิน หาได้ดังสมการที่ (12)
ค่าเสียโอกาสที่ดินต่อเดือน = ค่าเช่าต่อไร่ต่อปี × เนื้อที่ทั้งหมดคิดเป็นไร่ (12)
12 เดือน
2.4.3 ค่าเสื่อมราคาอาคารโรงเรือนต่อเดือน คิด 10 ปี หาได้ดังสมการที่ (13)
ค่าเสื่อมราคาอาคารโรงเรือนต่อเดือน = ราคารวมอาคารโรงเรือนทั้งหมด (13)
10 ปี × 12 เดือน
2.4.4 ค่าเสื่อมราคาหม้อกลั่นที่ใช้ผลิตต่อเดือน คิด 10 ปี หาได้ดังสมการที่ (14)
ค่าเสื่อมราคาหม้อกลั่นต่อเดือน = ราคารวมหม้อกลั่นที่ใช้ผลิตทั้งหมด (14)
10 ปี × 12 เดือน
ผลและวิจารณ์ ค่าใช้จ่าย คิดเป็นต่อเที่ยว เลือกใช้วิธีใดขึ้นอยู่กับความ
การด�าเนินธุรกิจการกลั่นน�้ามันกฤษณาเพื่อการ สะดวกและเหมาะสม ณ ขณะนั้น การลดขนาดท่อนไม้
พาณิชย์ (การทอน) ใช้การจ้างเหมาต่อคันรถร้อยละ 57.14 ส่วน
ลักษณะการด�าเนินธุรกิจกลั่นน�้ามันกฤษณา การจ้างแบบรายวันคิดเป็นร้อยละ 42.86 การผ่าและ
ในจังหวัดจันทบุรีในภาพรวมมีความคล้ายคลึงกันคือ ซอยท่อนไม้คัดเลือกเฉพาะส่วนที่มีสารกฤษณาใช้วิธี
ทุกรายมีการซื้อต้นกฤษณาเพื่อท�าการกระตุ้นให้เกิดสาร การจ้างเหมาต่อกิโลกรัมร้อยละ 57.14 วิธีจ้างเป็นรายวัน
กฤษณา และน�าเข้าสู่กระบวนการกลั่นให้เป็นน�้ามัน คิดเป็นร้อยละ 42.86 การสับให้ชิ้นไม้เล็กลงก่อนน�าไป
คิดเป็นร้อยละ 100 มีบางรายรับซื้อไม้ที่กระตุ้นแล้วเพื่อ บดนิยมใช้วิธีจ้างเหมาต่อกิโลกรัมคิดเป็นร้อยละ 85.71
น�าไปกลั่นคิดเป็นร้อยละ 28.57 รับซื้อน�้ามันกฤษณาที่ การบดนิยมจ้างเหมาต่อกิโลกรัมคิดเป็นร้อยละ 85.71
ผ่านการกลั่นแล้วเพื่อจ�าหน่ายต่อไปคิดเป็นร้อยละ 28.57 การหมักใช้ระยะเวลาเท่าใดขึ้นอยู่กับความต้องการของ
อายุของไม้กฤษณาที่รับซื้อ 7 ปีขึ้นไปหรือมีขนาดเส้น ลูกค้า การกลั่นน�้ามันกฤษณาใช้วิธีกลั่นแบบใช้น�้าคิด
ผ่านศูนย์กลาง 5 นิ้วขึ้นไปที่ต�าแหน่งสูงจากพื้น 1.30 เป็นร้อยละ 100 ระยะเวลาในการกลั่นเฉลี่ย 7 วันต่อเนื่อง
เมตร แหล่งวัตถุดิบอยู่ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี ตราด เชื้อเพลิงในการกลั่นนิยมใช้ก๊าซหุงต้ม (LPG) เนื่องจาก
และระยอง วิธีการกระตุ้นให้เกิดสารกฤษณานิยมใช้วิธี สะดวกทั้งการควบคุมอุณหภูมิและการด�าเนินงาน โดย
เจาะสว่านและฉีดสารกระตุ้นคิดเป็นร้อยละ 71.42 ทิ้งไว้ เฉลี่ย 1 หม้อกลั่นใช้ก๊าซ LPG จ�านวน 33.6 กิโลกรัม
ให้เกิดสารกฤษณาไม่ต�่ากว่า 2 ปี ผู้ประกอบการมีต้น หรือใช้ก๊าซ LPG จ�านวน 2.24 กิโลกรัมต่อผงไม้กฤษณา
กฤษณาที่ปลูกเองเพียงร้อยละ 28.57 ทั้งนี้ต้นกฤษณาที่ 1 กิโลกรัม ก�าลังการผลิตขึ้นอยู่กับวัตถุดิบที่เข้ามาโดย
ปลูกเองนั้นยังไม่ได้น�ามาใช้ประโยชน์ ผู้ประกอบการที่ เฉลี่ย 2 ครั้งต่อหม้อกลั่นต่อเดือน การขายน�้ามันกฤษณา
ไม่มีปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบร้อยละ 57.14 ส่วนที่ระบุ ส่วนใหญ่มีนายหน้ามารับซื้อที่โรงงานคิดเป็นร้อยละ
ว่ามีปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบมีร้อยละ 42.86 การตัดและ 71.42 ส่วนกากที่เหลือจากการกลั่น ปัจจุบันยังขาย
ขนส่งใช้ทั้งวิธี เข้าด�าเนินการเองโดยใช้แรงงานที่มีอยู่ ไม่ได้ กองไว้รอบๆ โรงงาน ความสม�่าเสมอในการผลิต
จ่ายค่าจ้างเป็นรายวัน และวิธีจ้างเหมาตัดโดยผู้รับเหมา ขึ้นอยู่กับวัตถุดิบและความต้องการของตลาด (Table 1)