Page 121 -
P. 121

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                         วารสารวนศาสตร 34 (1) : 112-121 (2558)                   119
                                                        ์



                 ต�าแหน่ง  เป็นการเพิ่มรายได้สามารถลดต้นทุนในการ  กระท�าได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ทั้งปริมาณและคุณภาพ
                 ผลิตและการบริหารจัดการลงได้ ก่อให้เกิดผลก�าไรที่สูง  งานเพื่อให้สมดุลกับค่าจ้าง นอกจากนั้นหากผู้ประกอบ
                 ตามมา การลดต้นทุนด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านเชื้อเพลิง  การมีที่ดินเป็นของตนเอง ควรมีการปลูกต้นกฤษณา
                 ที่มีการปรับตัวสูงขึ้นในปัจจุบันและมีแนวโน้มปรับตัว  ส�ารองไว้ ซึ่งสามารถน�ามาใช้ได้ตามต้องการ เป็นการ
                 สูงขึ้นอีกในอนาคต ผู้ประกอบการควรตระหนักถึงการ  ลดค่าใช้จ่ายด้านวัตถุดิบ ก่อให้เกิดรายได้จากการขาย

                 บริหารจัดการและเอาใจใส่โดยเฉพาะ เพื่อลดค่าใช้จ่าย  ต้นกฤษณาเข้าระบบงานของผู้ประกอบการเอง ท�าให้
                 ด้านนี้ลง ส่วนด้านแรงงานควรจัดระบบการท�างานให้  ลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบลงอย่างมาก

                 Table 3  Estimate of the Agarwood oil refinery cost.


                         (1)          (2)           (3)          (4)           (5)      Total cost of
                    Entrepreneur  per month  Agarwood dust   month  controllers per  production per  production per
                     Distilled pots  Cost of dried  Cost of fuel per Cost of distilled  Total cost of
                                                  (baht)
                                   per month
                        (pot)
                                                                month
                                                                                            year
                                                                             month
                                                                             (baht)
                                     (baht)
                                                                                           (baht)
                                                                (baht)
                                                                           (2)+(3)+(4)    (5) × 12
                  A      40        40,300.40     25,764.48    18,000.00     84,064.88   1,008,778.56
                  B      80        68,250.04     55,209.60    27,000.00     150,459.64  1,805,515.68
                  C      40        42,240.80     27,604.48    18,000.00     87,845.28   1,054,143.36
                  D      112       109,831.68    72,140.54    27,000.00     208,972.22  2,507,666.64

                  E      80        82,001.60     55,209.60    27,000.00     164,211.20  1,970,534.40

                  F      60        64,402.80     41,407.20    18,000.00     123,810.00  1,485,720.00
                  G      40        39,835.20     25,764.48    18,000.00     83,599.68   1,003,196.16

                        การประมาณการผลประกอบการในการ         หากผู้ประกอบการรายใดสามารถจัดการให้มีการใช้
                 กลั่นน�้ามันกฤษณา (Table 4) ได้จากการน�าข้อมูลการ  หม้อกลั่น ท�าการกลั่นให้ครบทั้งหมดในแต่ละรอบ
                 ประมาณการรายได้และรายจ่ายจากการกลั่นน�้ามัน  กลั่น และบริหารรอบกลั่นครบ 4 รอบต่อเดือนตลอด
                 กฤษณามาค�านวณ เพื่อหาก�าไรสุทธิต่อปี พบว่าก�าไร  ทั้งปี ผู้ประกอบการรายนั้นจัดว่ามีการบริหารด้านการ
                 สุทธิต่อปีของผู้ประกอบการทั้ง 7 ราย ต�่าสุดเท่ากับ   ผลิตอยู่ในเกณฑ์ดี ซึ่งส่งผลให้มีผลตอบแทนทางการ
                 49,721.44 บาท สูงสุดเท่ากับ 1,498,513.09 บาท ก�าไร  เงินสูงตามมา
                 สุทธิต่อปีเฉลี่ยต่อรายเท่ากับ 522,135.32 บาท กล่าวคือ
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126