Page 117 -
P. 117
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 34 (1) : 112-121 (2558) 115
์
2.2.1 ค่าใช้จ่ายผงไม้กฤษณาแห้งต่อ การแต่ละราย เทียบกับจ�านวนต้นที่ท�าได้ต่อวันและ
เดือน เกิดจากค่าซื้อต้นกฤษณา ซื้อต้นละ 400-800 บาท จ�านวนกิโลกรัมไม้สับแห้ง ค่าผ่าและซอย คิดเป็น
ค่าจ้างเฉลี่ยต่อกิโลกรัมของผู้ประกอบการแต่ละราย
ค่ากระตุ้นให้เกิดสารกฤษณาเฉลี่ย 350 บาทต่อต้น
ค่าจ้างตัดและขนส่ง ค่าจ้างตัดพร้อมขนส่งต่อเที่ยว ค่าจ้างสับคิดเป็นค่าจ้างเฉลี่ยต่อกิโลกรัมของผู้ประกอบ
การแต่ละราย ค่าจ้างบดละเอียด การบดละเอียดแต่ละ
โดยทั่วไปคิดเป็นราคาเหมาตัดเฉลี่ยราคา 2,500 บาทต่อ ครั้งใช้เครื่องบดพร้อมคนงาน 1 คน บดละเอียดขนาด
เที่ยวขนส่งโดยรถกระบะ ค่าตัดให้ท่อนไม้มีขนาด ประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ค่าใช้จ่ายในการบดคิดเป็นต่อ
สั้นลง (การทอน) คิดจากราคาจ้างเฉลี่ยทั้งแบบเหมา กิโลกรัม ประมาณการค่าใช้จ่ายผงไม้กฤษณาแห้งต่อ
ต่อคันรถกระบะ และแบบจ้างรายวันของผู้ประกอบ เดือน หาได้ดังสมการที่ (4) และ (5)
ค่าใช้จ่ายผงไม้กฤษณาแห้งต่อเดือน = หม้อกลั่นที่ผลิตต่อเดือน × ค่าใช้จ่ายผงไม้กฤษณาแห้งต่อหม้อกลั่น (4)
ค่าใช้จ่ายผงไม้กฤษณาแห้งต่อหม้อกลั่น = ค่าใช้จ่ายผงไม้กฤษณาแห้ง 1 กก. × อัตราการใช้ผงไม้กฤษณาแห้งต่อหม้อกลั่น (5)
2.2.2 เชื้อเพลิงในการกลั่น การกลั่นของ หม้อกลั่น 10 ใบ และท�าการกลั่น 7 วันต่อเนื่อง ใช้ก๊าซ
ผู้ประกอบการทั้งหมด ใช้ก๊าซหุงต้ม (LPG) เป็นเชื้อเพลิง LPG รวมทั้งสิ้นจ�านวน 7 ถัง เท่ากับ 336 กิโลกรัม ดังนั้น
โดยกลั่นอย่างต่อเนื่องประมาณ 7 วัน ราคาก๊าซ LPG 1 หม้อกลั่นใช้ก๊าซ LPG จ�านวน 33.6 กิโลกรัม หรือใช้ก๊าซ
น�้าหนัก 48 กิโลกรัมต่อถัง ระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. LPG จ�านวน 33.6/15 กิโลกรัม เท่ากับ 2.24 กิโลกรัมต่อ
2556 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ราคา 920 บาท ผงไม้กฤษณา 1 กิโลกรัม ประมาณการค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิง
คิดเป็นก๊าซ LPG 1 กิโลกรัมเท่ากับ 19.17 บาท กรณีมี ในการกลั่นกฤษณาต่อเดือน หาได้ดังสมการที่ (6)-(8)
ค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิงต่อเดือน = หม้อกลั่นที่ผลิตต่อเดือน × การใช้เชื้อเพลิงต่อรอบกลั่นต่อหม้อกลั่น
× ราคาก๊าซ LPG ต่อกิโลกรัม (6)
หม้อกลั่นที่ผลิตต่อเดือน = หม้อกลั่นที่ผลิตต่อรอบกลั่น × จ�านวนรอบกลั่นต่อเดือน (7)
การใช้เชื้อเพลิงต่อรอบกลั่นต่อหม้อกลั่น = จ�านวนวันต่อรอบกลั่น × อัตราการใช้เชื้อเพลิงต่อวันต่อหม้อกลั่น (8)
2.2.3 ค่าจ้างแรงงานในการกลั่น การ ดังนั้นในการกลั่นแต่ละรอบกลั่นจะต้องมีคนงานขั้นต�่า
กลั่นน�้ามันกฤษณาแต่ละรอบการกลั่น ด�าเนินการแบบ เพื่อควบคุมจ�านวนไม่น้อยกว่า 2 คนประมาณการค่าจ้าง
ต่อเนื่อง 24 ชั่วโมงต่อวัน แรงงานที่ใช้ควบคุมการกลั่น คนงานควบคุมการกลั่นต่อเดือน หาได้ดังสมการที่ (9)
จะต้องมีอย่างน้อย 2 ผลัด คือ กลางวันและกลางคืน
ค่าจ้างคนงานต่อเดือน = จ�านวนคนงานควบคุมการกลั่นต่อเดือน × อัตราค่าจ้างคนงานต่อวัน
ต่อคน × 30 วัน (9)
2.3 การประมาณการต้นทุนในการกลั่น สามารถค�านวณเป็นต้นทุนการผลิตต่อเดือนและต่อปี
น�้ามันกฤษณาซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายต่างๆ ข้างต้น หาได้ดังสมการที่ (10) และ (11)
ต้นทุนการผลิตต่อปี = ต้นทุนการผลิตต่อเดือน × 12 (10)
ต้นทุนการผลิตต่อเดือน = ค่าใช้จ่ายผงไม้กฤษณาแห้งต่อเดือน + ค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิงต่อเดือน
+ ค่าจ้างคนงานควบคุมการกลั่นต่อเดือน (11)
2.4 การประมาณการผลประกอบการ 2.4.1 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร คือ
การกลั่นน�้ามันกฤษณาต่อปี นอกจากค�านวณจากรายได้ เงินเดือนผู้บริหารและพนักงาน ผู้ประกอบการจ�านวน
รายจ่ายต่อปีแล้ว ยังรวมค่าใช้จ่ายต่างๆ ต่อไปนี้ 6 รายที่เป็นทั้งผู้จัดการและผู้ขาย ส่วนด้านบัญชีจะให้