Page 112 -
P. 112

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 110                      Thai J. For. 34 (1) : 101-111 (2015)




                 ระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐาน จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน      3. จากการศึกษาพบว่า ประชาชนกลุ่มตัวอย่าง
                 อาชีพรอง รายได้ที่เกิดจากการใช้ประโยชน์จากป่า  ที่มีการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากร
                 ชายเลน และการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับป่าชายเลน  ป่าชายเลน จ�านวน 3 ครั้ง/เดือนขึ้นไป มีส่วนร่วมในการ
                        งานวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ         อนุรักษ์ป่าชายเลน มากกว่าประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่
                        1. จากการศึกษาพบว่า ประชาชนกลุ่มตัวอย่าง  ไม่ได้รับข้อมูลข่าวสาร ได้รับข้อมูลข่าวสารจ�านวน 1
                 ได้รับการฝึกอบรมความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากร  ครั้ง/เดือน และได้รับข้อมูลข่าวสารจ�านวน   2 ครั้ง/เดือน
                 ป่าชายเลน มีเพียงร้อยละ 22.09 และไม่เป็นสมาชิกกลุ่ม  ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานีพัฒนาทรัพยากร
                 ทางสังคม ร้อยละ 31.40 ดังนั้น สถานีพัฒนาทรัพยากร  ป่าชายเลนที่ 13 (ท่าฉาง สุราษฎร์ธานี) ส่วนบริหาร
                 ป่าชายเลนที่ 13 (ท่าฉาง สุราษฎร์ธานี) ส่วนบริหารจัดการ  จัดการทรัพยากรป่าชายเลนที่ 4 (สุราษฎร์ธานี) ส�านัก
                 ทรัพยากรป่าชายเลนที่ 4 (สุราษฎร์ธานี) ส�านักจัดการ  จัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 11 (สุราษฎร์ธานี) ส�านักบริหาร
                 ทรัพยากรป่าไม้ที่ 11 (สุราษฎร์ธานี) ส�านักบริหารพื้นที่
                 อนุรักษ์ที่ 4 (สุราษฎร์ธานี) องค์การบริหารส่วนต�าบล  พื้นที่อนุรักษ์ที่ 4 (สุราษฎร์ธานี) องค์การบริหารส่วน
                 เขาถ่าน และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ควรเข้ามาส่งเสริม  ต�าบลเขาถ่าน ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักที่เข้ามาให้ข้อมูล
                 ให้ประชาชนได้รับการฝึกอบรมศึกษาดูงาน เกี่ยวกับ  ข่าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน ควร
                 การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน ตลอดจนการรวมกลุ่ม  เพิ่มการส่งเสริมประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับ
                 ทางสังคม เมื่อประชาชนได้รับการฝึกอบรม ศึกษา   ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าชายเลน เพื่อให้

                 ดูงาน ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น เกิดการรวมกลุ่มจะท�าให้  เห็นถึงคุณค่าและความส�าคัญของทรัพยากรป่าชายเลน
                 ประชาชนได้รับความรู้และเพิ่มประสบการณ์ เห็นถึง      4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรพิจารณาน�า ปัจจัย
                 คุณค่าและความส�าคัญของทรัพยากรป่าชายเลนยิ่งขึ้น  ที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์
                        2. จากการศึกษาพบว่า ประชาชนกลุ่มตัวอย่าง  ป่าชายเลน มาประกอบการวางแผนส่งเสริมการมีส่วน
                 ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่า  ร่วมในพื้นที่ เพื่อยกระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน
                 ชายเลนมากกว่าประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุน้อยกว่า  ในการอนุรักษ์ป่าชายเลนในท้องที่ และบริเวณใกล้เคียง
                 หรือเท่ากับ 40 ปี 41-50 ปี และ 51-60 ปี อาจเนื่องจาก  ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
                 ประชาชนที่มีอายุมากกว่า 60 ปี อยู่ในวัยสูงอายุไม่ต้อง
                 ท�างานประจ�า จึงมีเวลาในการร่วมกิจกรรมการมี                 ค�านิยม
                 ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าชายเลนมากกว่าประชาชน
                 ช่วงอายุอื่นๆ ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานีพัฒนา     ผู้วิจัยขอขอบคุณ เจ้าหน้าที่องค์การบริหาร
                 ทรัพยากรป่าชายเลนที่ 13 (ท่าฉาง สุราษฎร์ธานี) ส่วน  ส่วนต�าบลเขาถ่าน อ�าเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

                 บริหารจัดการทรัพยากร  ป่าชายเลนที่ 4 (สุราษฎร์ธานี)   และนายจ�าเนียร รักเขียว หัวหน้ากลุ่มอนุรักษ์ป่า
                 องค์การบริหารส่วนต�าบลเขาถ่าน ซึ่งเป็นหน่วยงานหลัก  ชายเลน ในการสนับสนุนข้อมูลประกอบการท�างานวิจัย
                 ที่เข้ามาให้ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่า
                 ชายเลน ควรจะมีกลยุทธ์ในการชักจูงประชาชนที่มีอายุ        REFERENCES
                 น้อยกว่า 60 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มที่อยู่ในวัยท�างานให้เข้ามา  Department Of Provincial Administration.
                 มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนเพิ่มขึ้น   2013.  Population by Village of Kho
                 เช่น การก�าหนด   เวลาการฝึกอบรมให้เหมาะสมตรงกับ     Than Sub-district Community, Tha
                 ช่วงที่ประชาชนว่างเว้นจากการประกอบอาชีพ เช่น        Chang District, Surat Thani Province.
                 ช่วงฤดูร้อนที่ยางพาราผลัดใบ เป็นต้น                 Ministry of Interior.  Bangkok. (in thai)
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117