Page 116 -
P. 116

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 114                      Thai J. For. 34 (1) : 112-121 (2015)




                 ในสวนผลไม้หรือสวนยางพารา จากข้อมูลพื้นที่การ  การเก็บข้อมูล
                 ปลูกไม้กฤษณาของชมรมไม้กฤษณา (ไม้หอม) แห่ง           การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ
                 ประเทศไทยปี พ.ศ. 2548 มีจ�านวน 247,461 ต้น ซึ่งน้อยกว่า  (quality research) ใช้แบบสัมภาษณ์บุคคลแบบ เชิงลึก
                 จังหวัดตราดมาก โดยจังหวัดตราดนั้นมีอยู่ 5,874,981 ต้น   ท�าการศึกษาทุกราย ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง ช่วงเวลาที่ท�าการ
                 ส่งผลให้จ�านวนโรงกลั่นน�้ามันกฤษณาในจังหวัดตราด  วิจัยตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2556  ถึงเดือนกุมภาพันธ์
                 ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมนั้นมี 34   พ.ศ. 2557
                 แห่ง (Trat Industry Office, 2013) ในขณะที่จังหวัด
                 จันทบุรีมีโรงงานกลั่นน�้ามันกฤษณาที่ขึ้นทะเบียนกับ  การวิเคราะห์ข้อมูล
                 กรมโรงงานอุตสาหกรรมเพียง 8 แห่ง (Chanthaburi        1. การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (descriptive
                 Industry Office, 2013) และพบว่ามีผู้ประกอบการกลั่น  analysis) วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการ โรงกลั่น
                 น�้ามันกฤษณาบางรายชะลอการผลิตชั่วคราว  การศึกษา  น�้ามันกฤษณา สถานที่ตั้ง แบบแผนการด�าเนินธุรกิจ การ
                 วิจัยในครั้งนี้ท�าให้ทราบถึงการด�าเนินธุรกิจการกลั่น  ผลิต การตลาดของไม้กฤษณา รายรับ รายจ่าย รวมถึง
                 น�้ามันกฤษณาเพื่อการพาณิชย์ในจังหวัดจันทบุรี  การ  ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ของการด�าเนินธุรกิจ ผลการ
                 วิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินที่ได้รับจากการผลิต  สัมภาษณ์แบบเชิงลึกนั้น ท�าการบรรยายในแต่ละรายตาม
                 น�้ามันกฤษณาเพื่อเป็นแนวทางหนึ่งในการส่งเสริม  หัวข้อในแบบสัมภาษณ์ ตั้งแต่ส่วนที่ 1 จนกระทั่งถึง
                 ให้มีการผลิตน�้ามันกฤษณาคุณภาพสูงให้เพิ่มมากขึ้น
                 หรืออาจเป็นแนวทางในการด�าเนินการปรับปรุง แก้ไข   ส่วนที่ 5 โดยผลการสัมภาษณ์สรุปเป็นภาพรวมของ
                 หรือป้องกันสิ่งต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการผลิตน�้ามัน  ผู้ประกอบการทั้ง  7 ราย
                 กฤษณา เนื่องจากข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริงสามารถ     2. การค�านวณผลตอบแทนทางการเงินที่ได้
                 น�ามาใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป     รับจากการผลิตน�้ามันกฤษณา มีการวิเคราะห์ข้อมูลโดย
                                                             ใช้สถิติอย่างง่าย เช่น  ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าต�่าสุดและ
                          อุปกรณ์และวิธีการ                  ค่าสูงสุด ส่วนค่าใช้จ่ายและรายได้จากการขายน�้ามัน

                 พื้นที่ศึกษา                                กฤษณานั้นแสดงเป็นจ�านวนเงินที่จ่ายหรือรับต่อหนึ่ง
                                                             รอบการกลั่น ต่อเดือน และต่อปี
                        ผู้ประกอบการโรงกลั่นน�้ามันกฤษณาในพื้นที่       2.1  ประมาณการรายได้
                 จังหวัดจันทบุรี มีจ�านวนทั้งสิ้น 8 ราย แต่ท�าการศึกษา         ค�านวณจากการขายน�้ามันกฤษณา โดยที่
                 เพียง 7 รายเนื่องจาก 1 รายชะลอการผลิตมาเป็นระยะ
                 เวลา 6 เดือนแล้ว โดยกระจายอยู่ตามอ�าเภอต่างๆ ได้แก่   รายได้จากการขายกากที่เหลือจากการกลั่นนั้นไม่น�า
                 อ�าเภอเมือง 2 ราย อ�าเภอมะขาม 3 ราย อ�าเภอโป่งน�้าร้อน   มาคิดเนื่องจากยังไม่มีการขาย รายได้ต่อเดือน หาได้
                 1 ราย และอ�าเภอท่าใหม่  1 ราย               ดังสมการที่ (1)-(3)

                              รายได้ต่อเดือน  =  ปริมาณน�้ามันกฤษณาที่ได้เป็นโตร่าต่อเดือน × ราคาขายน�้ามันกฤษณาต่อโตร่า   (1)

                  ปริมาณน�้ามันกฤษณาที่ได้ต่อเดือน  =  จ�านวนหม้อกลั่นที่ใช้ผลิตต่อเดือน × ปริมาณน�้ามันกฤษณาที่ได้เป็นโตร่า
                                            ต่อหม้อกลั่นต่อรอบกลั่น                               (2)

                      หม้อกลั่นที่ใช้ผลิตต่อเดือน  =  หม้อกลั่นที่ใช้ผลิตต่อรอบกลั่น × รอบกลั่นต่อเดือน   (3)
                          2.2 ประมาณการรายจ่าย               กฤษณาแห้งต่อเดือน ค่าเชื้อเพลิงในการกลั่น ค่าจ้าง
                            ประมาณการรายจ่ายในการกลั่นน�้ามัน  คนงานควบคุมการกลั่น ดังนี้

                 กฤษณา ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายต่างๆ ได้แก่ ค่าผงไม้
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121