Page 110 -
P. 110
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
108 Thai J. For. 34 (1) : 101-111 (2015)
ในการอนุรักษ์ป่าชายเลนโดยภาพรวมเป็นรายคู่โดย จังหวัดระนอง พบว่า ประชาชนที่มีจ�านวนสมาชิกใน
วิธีการของ Scheffe’ พบว่าประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่มี ครัวเรือนต่างกันมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ปวช. และ ป่าชายเลน แตกต่างกัน เมื่อท�าการทดสอบค่าเฉลี่ย
อนุปริญญาหรือ ปวส. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่า ของการมีส่วนร่วมโดยภาพรวม เป็นรายคู่โดยวิธีการ
ชายเลนมากกว่าประชาชนกลุ่มตัวอย่าง ที่มีระดับ ของ Scheffe’ พบว่าประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่มีจ�านวน
การศึกษาปริญญาตรีหรือโท อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ สมาชิกในครัวเรือน 7-8 คน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
ที่ระดับ 0.05 และประชาชนกลุ่มตัวอย่าง ที่มีระดับ ป่าชายเลนมากกว่าประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่มีจ�านวน
การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือ ปวช. มีส่วนร่วม สมาชิกในครัวเรือน 1-2 คน และ5-6 คน อย่างมีนัย
ในการอนุรักษ์ป่าชายเลนมากกว่าประชาชนกลุ่มตัวอย่าง ส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และประชาชน กลุ่ม
ที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น อย่างมีนัยส�าคัญ ตัวอย่างที่มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือน 3-4 คน มี
ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าชายเลนมากกว่าประชาชน
ระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐาน ได้แบ่งระยะเวลา กลุ่มตัวอย่างที่มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือน 5-6 คน อย่าง
ในการตั้งถิ่นฐานของประชาชนกลุ่มตัวอย่างแบ่งออก มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เนื่องจากประชาชน
เป็น 7 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐานน้อยกว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนมากมีความ
หรือเท่ากับ 10 ปี 11-20 ปี 21-30 ปี 31-40 ปี 41-50 ปี สามารถส่งตัวแทนในเข้าร่วมกิจกรรมการส่วนร่วมใน
51-60 ปี และมากกว่า 60 ปี ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้อง การอนุรักษ์ป่าชายเลน
กับ (Lertphitayanon, 2009) ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมของ อาชีพรอง ได้แบ่งอาชีพรองของประชาชน
ประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน ในท้องที่ กลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ไม่มีอาชีพ
ต�าบลม่วงกลวง อ�าเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง พบว่า รอง และมีอาชีพรอง พบว่า ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่มี
ประชาชนที่มีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐานต่างกันมี อาชีพรอง มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าชายเลนมากกว่า
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน แตกต่างกัน ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีอาชีพรอง อย่างมีนัยส�าคัญ
เมื่อท�าการทดสอบค่าเฉลี่ยของการมีส่วนร่วมโดย ทางสถิติที่ระดับ 0.05 เนื่องจากประชาชนกลุ่มตัวอย่าง
ภาพรวม เป็นรายคู่โดยวิธีการของ Scheffe’ พบว่า ที่มีอาชีพรอง มีรายได้ที่เกิดจากการใช้ประโยชน์จากป่า
ประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่มีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐาน ชายเลน จึงมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าชายเลนมากกว่า
มากกว่า 60 ปี มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าชายเลน ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีอาชีพรอง
มากกว่าประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่มีระยะเวลาในการ รายได้ที่เกิดจากการใช้ประโยชน์จากป่าชายเลน
ตั้งถิ่นฐานน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ปี 11-20 ปี 21-30 ปี ได้แบ่งรายได้ที่เกิดจากการใช้ประโยชน์จากป่าชายเลน
31-40 ปี และ 41-50 ปี อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ ของประชาชนกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่
ระดับ 0.05 ไม่มีรายได้ กลุ่มที่มีรายได้น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50,000
จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน ได้แบ่งจ�านวน บาท 50,001 -100,000 บาท และมากกว่า 100,000 บาท
สมาชิกในครัวเรือนของประชาชนกลุ่มตัวอย่างแบ่งออก เมื่อท�าการทดสอบค่าเฉลี่ยของการมีส่วนร่วมโดยภาพรวม
เป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือน เป็นรายคู่ โดยวิธีการของ Scheffe’ พบว่าประชาชนกลุ่ม
1-2 คน 3-4 คน 5-6 คน และ 7-8 คน ซึ่งผลการศึกษา ตัวอย่างที่มีรายได้ที่เกิดจากการใช้ประโยชน์จากป่า
สอดคล้องกับ (Lertphitayanon, 2009) ได้ศึกษาการ ชายเลน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50,000 บาท มีส่วนร่วมใน
มีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากร การอนุรักษ์ป่าชายเลนมากกว่าประชาชนกลุ่มตัวอย่าง
ป่าชายเลน ในท้องที่ต�าบลม่วงกลวง อ�าเภอกะเปอร์ ที่ไม่มีรายได้ และมีรายได้ มากกว่า 100,000 บาท อย่าง