Page 119 -
P. 119
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 108-118 (2557) 117
์
ภัยพิบัติอุทกภัย และให้ความเชื่อถือผู้น�าชุมชนระดับ ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักที่เข้ามาฝึกอบรม รวมถึงหน่วยงาน
ผู้ใหญ่บ้านสูงสุด เคยมีประสบการณ์ในการได้รับความ อื่นๆ และผู้น�าชุมชนควรจะมีกลยุทธ์ในการชักจูง
เสียหายจากอุทกภัยในอดีตจ�านวน 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. ประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
2551 และพ.ศ. 2554 ความเสียหายที่ได้รับโดยส่วนใหญ่ กับการรับมืออุทกภัย โดยเฉพาะกลุ่มที่อยู่ในวัยท�างาน
เกิดขึ้นกับพื้นที่การเกษตร ซึ่งประชากรได้รับข่าวสาร ที่มีเวลาว่างน้อย รวมถึงการให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ
เตือนภัยอุทกภัยจากสื่อวิทยุ/โทรทัศน์/หนังสือพิมพ์มาก การเกิดอุทกภัย และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ดิน
ที่สุด และมีการเข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ และน�้า แก่กลุ่มที่ยังมีความรู้ความเข้าใจในระดับต�่า ซึ่ง
การรับมือกับภัยพิบัติอุทกภัยอยู่ในระดับต�่า เนื่องจาก ถือเป็นปัจจัยส�าคัญที่ท�าให้การเตรียมความพร้อมเพื่อ
ต้องใช้เวลาส่วนใหญ่ในการประกอบอาชีพ โดยได้รับ รับมืออุทกภัยมีประสิทธิภาพ และควรมีการสร้าง
การสนับสนุนหรือความช่วยเหลือในการเตรียมความ อาชีพเสริมในพื้นที่ เพื่อให้ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อ
พร้อมเพื่อรับมืออุทกภัยจากหน่วยงานป้องกันภัย ครัวเรือนเพิ่มขึ้น ท�าให้มีเงินทุนเหลือจากการใช้จ่าย
พิบัติ และหน่วยงานอื่นๆ อยู่ในระดับสูง ทั้งในด้าน เพื่อด�ารงชีพ เพื่อน�ามาใช้เป็นทุนในการเตรียมความ
การสนับสนุนด้านอุปกรณ์เตือนภัย การเข้าช่วยเหลือ พร้อมเพื่อรับมือกับอุทกภัยในอนาคต
อย่างทันท่วงทีระหว่างเกิดอุทกภัย เป็นต้น โดยมี
ความรู้เกี่ยวกับการสาเหตุการเกิดอุทกภัยและความรู้ ค�านิยม
เกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน�้าอยู่ในระดับสูง คิดเป็น ขอขอบพระคุณประชาชนหมู่ที่ 4, 5, 10, 13
ร้อยละ 54.60 และ 51.80 ตามล�าดับ ส่วนด้านระดับ และ15 ต�าบลเทพราช อ�าเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช
ความพร้อมของประชาชนในการรับมืออุทกภัยใน ซึ่งเป็นประชากรตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ทุกท่าน
ต�าบลเทพราช ในภาพรวมมีคะแนนความพร้อมอยู่ ที่ให้ความร่วมมือตอบแบบสอบถามและให้ข้อมูลที่
ในระดับสูง โดยประชาชนในพื้นที่มีการปฏิบัติตน เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาครั้งนี้เป็นอย่างดี
ในการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัย
อยู่เป็นประจ�าตลอดทั้งปี และได้รับการสนับสนุน เอกสารและสิ่งอ้างอิง
ช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องใน ชาลี เบญจวงศ์. 2549. การรับรู้ภัยจากดินถล่มและ
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมืออุทกภัยที่มีโอกาส การเตรียมความพร้อมรับภัยจากดินถล่มของ
เกิดขึ้นในอนาคต ประชาชนในเขตพื้นที่เสี่ยงภัย จังหวัด
ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมของประชาชน หนองบัวล�าภู. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,
ในการรับมืออุทกภัยในพื้นที่ต�าบลเทพราช ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
อายุ ระดับการศึกษา รายได้ของครัวเรือน การมีส่วน ชัยยศ ตั้งจิตด�ารงรัตน์. 2553. ความพร้อมในการรับมือ
ร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการรับมืออุทกภัย การ ภัยพิบัติขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ สมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,
รับมือกับภัยพิบัติอุทกภัยความรู้เกี่ยวกับสาเหตุการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เกิดอุทกภัย และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน�้า ประภาเพ็ญ สุวรรณ. 2526. ทัศนคติ: การวัดการ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้แก่ ศูนย์ป้องกันและ เปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย. ส�านักพิมพ์
บรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.