Page 115 -
P. 115
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 108-118 (2557) 113
์
รายได้ของครัวเรือน จากการศึกษาพบว่า ข่าวสารเตือนภัยอุทกภัย คิดเป็นร้อยละ 98.00 และไม่เคย
ประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่มีรายได้ต่อปี ต�่ากว่า 150,000 ได้รับข่าวสารเตือนภัย คิดเป็นร้อยละ 2.00 ซึ่งช่องทาง
บาท คิดเป็นร้อยละ 47.79 รองลงมามีรายได้ 150,000- ที่ประชากรตัวอย่างได้รับข่าวสารเตือนภัยอุทกภัยมาก
250,000 และมากกว่า 250,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 43.37 ที่สุดคือ สื่อวิทยุ/โทรทัศน์/หนังสือพิมพ์ ร้อยละ 66.27
และ 8.84 ตามล�าดับ โดยมีรายได้เฉลี่ย 173,420 บาท ต�่าสุด รองลงมาจากก�านัน/ผู้ใหญ่บ้าน/อบต./อปพร. ปภ.จังหวัด
50,000 บาท และสูงสุด 350,000 บาท และเพื่อนบ้านญาติพี่น้อง คิดเป็นร้อยละ 20.08, 12.45
การตั้งถิ่นฐาน จากการศึกษาตัวอย่างพบว่า และ 3.21 ตามล�าดับ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตั้งแต่เกิด การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ
คิดเป็นร้อยละ 72.70 และเป็นประชากรที่อพยพมา การรับมือภัยพิบัติอุทกภัย จากการศึกษา พบว่า ประชากร
จากพื้นที่อื่น คิดเป็นร้อยละ 27.30 ซึ่งระยะเวลาการตั้ง ตัวอย่างส่วนใหญ่เข้าร่วมกิจกรรมการจัดเวรยามเฝ้าระวัง
ถิ่นฐานในพื้นที่ต�าบลเทพราชของประชากรตัวอย่าง ภัยอุทกภัย ดินโคลนถล่ม คิดเป็นร้อยละ 54.20 และเข้า
ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 41-50 ปี ร้อยละ 24.10 รองลงมา รับการอบรมเป็นอาสาสมัคร อปพร.หมู่บ้าน น้อยที่สุด
51-60 ปี 31-40 ปี 21-30 ปี 11-20 ปี, มากกว่า 60 ปี และ คิดเป็นร้อยละ 22.90 โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย
1-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 22.49, 16.06, 12.85, 12.05, 7.23 2.02 คะแนน ต�่าสุด 0 คะแนน และสูงสุด 5 คะแนน และ
และ 5.22 ตามล�าดับ โดยมีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐาน ใช้คะแนนเฉลี่ยเป็นเกณฑ์ในการแบ่งระดับการมีส่วน
เฉลี่ย 39.84 ปี ต�่าสุด 5 ปี และสูงสุด 71 ปี ร่วม พบว่า ประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่มีคะแนนต�่ากว่า
ภาวะผู้น�า จากการศึกษาภาวะผู้น�าพบว่า คะแนนเฉลี่ยหรือมีส่วนร่วมในระดับต�่า คิดเป็นร้อยละ
ประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์หรือ 65.46 อาจเนื่องมาจากประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่ซึ่ง
เคยได้รับโอกาสเป็นผู้น�าในการประชุม รณรงค์ หรือการ มีอายุในช่วง 41-50 ปี ซึ่งเป็นช่วงวัยท�างานจึงไม่ค่อยมี
ฝึกอบรมเกี่ยวกับภัยพิบัติอุทกภัย คิดเป็นร้อยละ 85.10 เวลาว่างในการเข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
มีเพียงร้อยละ 14.90 ที่เคยได้รับบทบาทในการเป็นผู้น�า การรับมือภัยพิบัติอุทกภัย
และจากการศึกษาความเชื่อถือในตัวผู้น�าชุมชนของ การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ
ประชากรตัวอย่างพบว่า โดยส่วนใหญ่ให้ความเชื่อถือ ที่เกี่ยวข้องในการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัย
ต่อผู้ใหญ่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 64.66 รองลงมาให้ความ พิบัติอุทกภัย จากการศึกษา พบว่าส่วนใหญ่ได้รับ
เชื่อถือต่อสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล (อบต.) การสนับสนุนด้านเงินทุนช่วยเหลือหลังจากเกิดอุทกภัย
ก�านัน และไม่ให้ความเชื่อถือกับผู้น�ากลุ่มใด คิดเป็น คิดเป็นร้อยละ 84.70 และได้รับการสนับสนุนในการ
ร้อยละ 18.87, 16.06 และ 0.40 ตามล�าดับ ติดตั้งระบบเตือนภัย เครื่องวัดปริมาณน�้าฝน รวมถึงการ
ประสบการณ์ในการได้รับความเสียหายจาก อธิบายวิธีการใช้อุปกรณ์ น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 32.90
อุทกภัย จากการศึกษา พบว่าประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่ โดยมีคะแนนการสนับสนุนเฉลี่ย 7.70 คะแนน ต�่าสุด
เคยมีประสบการณ์ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย คิด 2 คะแนน และสูงสุด 12 คะแนน และใช้คะแนนเฉลี่ย
เป็นร้อยละ 93.17 และไม่เคยได้รับประสบการณ์ความ เป็นเกณฑ์ในการแบ่งระดับการสนับสนุน พบว่า ประชาชน
เสียหายจากอุทกภัย มีเพียงร้อยละ 6.83 ตัวอย่างส่วนใหญ่มีคะแนนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยหรือมี
การรับข้อมูลข่าวสารเตือนภัยอุทกภัย จาก ระดับการได้รับการสนับสนุนสูง ร้อยละ 58.23 โดย
การศึกษาพบว่าประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่เคยได้รับ หน่วยงานหลักที่เข้ามาให้ความรู้เกี่ยวกับอุทกภัย