Page 116 -
P. 116
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
114 Thai J. For. 33 (1) : 108-118 (2014)
แนวทางปฏิบัติในการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือ เกษตร โครงการชัยพัฒนา เป็นต้น จึงท�าให้ทราบดี
อุทกภัย สนับสนุนด้านอุปกรณ์ และการเข้าช่วยเหลือ ว่าการอนุรักษ์ดินและน�้าเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดความ
ระหว่างเกิดอุทกภัย ได้แก่ เจ้าหน้าที่จากส�านักป้องกัน เสียหายจากอุทกภัยที่เกิดขึ้นได้
และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครศรีธรรมราช และ
เจ้าหน้าที่จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ทหารช่าง ครอบครัว ระดับความพร้อมของประชาชนในการรับมือ
ข่าว 3 เป็นต้น อุทกภัย
ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุการเกิดอุทกภัย ผลการ จากการศึกษาระดับความพร้อมในการรับมือ
ศึกษาพบว่า ประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบค�าถามถูก อุทกภัยช่วงก่อนเกิดอุทกภัยของประชาชนตัวอย่าง
มากที่สุดคือ ข้อ 2 อุทกภัยมีสาเหตุมาจากธรรมชาติซึ่ง พบว่า ประชากรตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยคะแนนความพร้อม
เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเองไม่สามารถเปลี่ยนแปลง เท่ากับ 2.30 คะแนน แสดงว่า ระดับความพร้อมในการ
ได้ คิดเป็นร้อยละ91.60 และตอบถูกน้อยที่สุดคือ ข้อ 3 รับมืออุทกภัย อยู่ในระดับสูง ส่วนความพร้อมในการ
ภัยพิบัติอุทกภัยจะเกิดเฉพาะช่วงฤดูฝนของทุกปีเท่านั้น รับมือในช่วงระหว่างเกิดอุทกภัย ประชากรตัวอย่างมีค่า
คิดเป็นร้อยละ 70.70 โดยมีคะแนนความรู้เฉลี่ย 8.40 เฉลี่ยคะแนนความพร้อมเท่ากับ 2.33 คะแนน แสดงว่า
คะแนน ต�่าสุด 2 คะแนน และสูงสุด 10 คะแนน และ ระดับความพร้อมในการรับมืออุทกภัย อยู่ในระดับสูง
ใช้คะแนนเฉลี่ยเป็นเกณฑ์ในการแบ่งระดับความรู้พบว่า และความพร้อมในการรับมืออุทกภัยหลังเกิดหรือช่วง
ประชาชนตัวอย่างส่วนใหญ่มีคะแนนสูงกว่าคะแนน ฟื้นฟู พบว่าประชากรตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยคะแนนความ
เฉลี่ยหรือมีระดับความรู้สูง ร้อยละ 54.60 เนื่องมาจาก พร้อมเท่ากับ 2.30 คะแนน แสดงว่า ระดับความพร้อม
ประชากรตัวอย่างมีประสบการณ์จากภัยพิบัติอุทกภัย ในการรับมืออุทกภัย อยู่ในระดับสูง ส�าหรับความพร้อม
ในอดีตที่ผ่านมา ประกอบกับการอบรมให้ความรู้จาก ของประชาชนในการรับมือกับอุทกภัยภาพรวมทั้งหมด
หน่วยงานต่างๆ จึงท�าให้มีความรู้และเข้าใจเป็นอย่างดี มีคะแนนเฉลี่ย 2.31 คะแนน อยู่ในระดับมีความพร้อม
ถึงสาเหตุการเกิดอุทกภัย สูงนั่นคือ ประชาชนในพื้นที่มีการปฏิบัติตนในการเตรียม
ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน�้า ผลการ ความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยอยู่เป็นประจ�าตลอด
ศึกษาพบว่า ประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบค�าถามถูก ทั้งปี และได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือจากหน่วยงาน
มากที่สุดคือ ข้อ 2 การอนุรักษ์ดินและน�้า เป็นวิธีหนึ่ง ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมเพื่อ
ที่ช่วยลดการกร่อนของหน้าดินเมื่อเกิดอุทกภัยได้ ร้อยละ รับมืออุทกภัย
88.40 และตอบถูกน้อยที่สุดคือ ข้อ 5 การเปลี่ยนพื้นที่
ป่าเพื่อปลูกยางพารา ถือเป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ การทดสอบสมมติฐาน
เหมาะสม ร้อยละ 62.20 โดยมีคะแนนความรู้เฉลี่ย 7.57 จากการทดสอบปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม
คะแนน ซึ่งมีคะแนนต�่าสุด 3 คะแนน และสูงสุด 10 ที่มีผลต่อความพร้อมของประชาชนในการรับมืออุทกภัย
คะแนน และใช้คะแนนเฉลี่ยเป็นเกณฑ์ในการแบ่งระดับ ในพื้นที่ต�าบลเทพราช โดยก�าหนดสมมติฐานจากตัวแปร
ความรู้พบว่า ประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่มีคะแนนสูง อิสระไว้ 14 ตัวแปร น�ามาหาความสัมพันธ์กับตัวแปร
กว่าคะแนนเฉลี่ยหรือมีระดับความรู้สูง ร้อยละ 51.80 ตาม คือความพร้อมของประชาชนในการรับมืออุทกภัย
เนื่องมาจากประชากรตัวอย่างมีการติดตามข้อมูล ในต�าบลเทพราช ที่ระดับนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ
ข่าวสารจากสื่อและหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมวิชาการ 0.05 ซึ่งผลการทดสอบสมมติฐานดังแสดงใน Table 1