Page 113 -
P. 113
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 108-118 (2557) 111
์
พื้นฐาน จ�านวนประชากร สภาพภูมิประเทศ ปริมาณ พิบัติอุทกภัย ดินโคลนถล่ม เมื่อปี พ.ศ.2554 จ�านวน
น�้าฝน สิ่งสาธารณูปโภค สถานบริการชุมชน และแผนที่ 5 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 4 บ้านเขายวนเฒ่า หมู่ที่ 5 บ้าน
หมู่บ้าน รวมถึงข้อมูลรายงานความเสียหายและการเข้า เผียนล่าง หมู่ที่ 10 บ้านเผียนบน หมู่ที่ 13 บ้านคลองคุด
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยอุทกภัยในพื้นที่เมื่อปี พ.ศ. 2554 และหมู่ที่ 15 บ้านสามเทพ จ�านวน 659 ครัวเรือน ค�านวณ
2. ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) เป็นข้อมูล หาขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของ Yamane (1973)
ที่ผู้วิจัยได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการตอบแบบ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และความคลาดเคลื่อน
สอบถาม โดยใช้วิธีสัมภาษณ์ประชากรจากแบบสอบถาม ของการสุ่มตัวอย่างเท่ากับ 0.05 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
ที่ก�าหนดไว้ ประกอบด้วย ข้อมูลทางเศรษฐกิจ สังคม ที่ต้องการศึกษา จ�านวน 249 ครัวเรือน จากนั้นน�าไป
ความรู้ถึงสาเหตุการเกิดอุทกภัยและความรู้เกี่ยวกับการ ค�านวณหาจ�านวนครัวเรือนตัวอย่างของแต่ละหมู่บ้าน
อนุรักษ์ดินและน�้า และความพร้อมในการรับมืออุทกภัย โดยใช้สูตรการกระจาย ตามสัดส่วน (สุบงกช, 2526)
โดยหมู่ที่ 4, 5, 10, 13 และ15 มีจ�านวนครัวเรือนตัวอย่าง
การสร้างและตรวจสอบแบบสอบถาม ที่ต้องการศึกษาเท่ากับ 47, 57, 47, 61 และ 37 ครัวเรือน
1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและผลงานวิจัย ตามล�าดับ
ที่เกี่ยวข้อง น�ามาสร้างแบบสอบถาม โดยให้สอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล
2. น�าแบบสอบถามที่ออกแบบจ�านวน 30 ชุด 1. ค�าถามความรู้เกี่ยวกับสาเหตุการเกิดอุทกภัย
ไปทดสอบ (pre-test) กับประชาชนในพื้นที่หมู่ 2 และ และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน�้า ด้านละ 10 ข้อ
หมู่ 5 ต�าบลสี่ขีด อ�าเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช มีการให้คะแนนดังนี้ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้
ซึ่งได้รับความเสียหายจากอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 น�าผลที่ 0 คะแนน และใช้ค่าเฉลี่ยในการแบ่งระดับความรู้ ถ้า
ได้จากการทดสอบแบบสอบถาม มาตรวจสอบคุณภาพ คะแนนมากกว่าค่าเฉลี่ยถือว่ามีระดับความรู้สูง ถ้าได้
ของเครื่องมือด้วยวิธีการของ Cronbach เพื่อทดสอบค่า คะแนนน้อยกว่าค่าเฉลี่ยถือว่ามีระดับความรู้ต�่า
ความเชื่อมั่น (reliability) โดยค�าถามความพร้อมของ 2. ระดับความพร้อมของประชาชนในการ
ประชาชนต้องมีค่าความเชื่อมั่นที่ได้ต้องไม่น้อยกว่า รับมืออุทกภัย โดยก�าหนดแบบสอบถามออกเป็น 3 ช่วง
0.80 (พวงรัตน์, 2540) ค่าความพร้อมที่ค�านวณได้มีค่า คือ ก่อนเกิดอุทกภัย ระหว่างเกิดอุทกภัย และหลังเกิด
ความเชื่อมั่น 0.84 ส่วนค�าถามความรู้เกี่ยวกับสาเหตุการ อุทกภัย ลักษณะค�าถามปลายปิด มีค�าตอบให้ประชาชน
เกิดอุทกภัย และความรู้การอนุรักษ์ดินและน�้า โดยใช้ เลือกตอบตามความคิดเห็น 4 ตัวเลือก โดยใช้เกณฑ์การ
สูตรการทดสอบ KR-20 ของล้วน และอังคณา (2524) ให้คะแนนตามแบบของ Likert’s scale (ประภาเพ็ญ,
และค�านวณสูตรหาค่าความแปรปรวนของพวงรัตน์ 2526) คือ มีความพร้อมสูง ความพร้อมปานกลาง ความ
(2540) ซึ่งค่าความเชื่อมั่นต้องสูงกว่า 0.60 ขึ้นไป ซึ่ง พร้อมต�่า และไม่มีความพร้อม ตามล�าดับ โดยให้คะแนน
ค่าความเชื่อมั่นของค�าถามความรู้เกี่ยวกับสาเหตุการ 3, 2, 1 และ 0 ตามล�าดับ จากท�าการก�าหนดอันตรภาค
เกิดอุทกภัย และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน�้า ชั้นเพื่อบ่งบอกถึงระดับความพร้อมของประชาชนใน
มีค่าเท่ากับ 0.61 และ 0.63 ตามล�าดับ
พื้นที่ต�าบลเทพราชในการรับมือถึงอุทกภัย ดังนี้
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง อันตรภาคชั้น = คะแนนสูงสุด - คะแนนต�่าสุด
ประชากรเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้ คือ 3 - 0 จ�านวนชั้น
ประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ต�าบลเทพราช อ�าเภอสิชล = 4
จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งได้รับความเสียหายจากภัย = 0.75