Page 108 -
P. 108

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 106                       Thai J. For. 33 (1) : 97-107 (2014)



                        จุดที่ 8  นิเวศป่าชายเลน ความส�าคัญของ  มีระยะทาง 20.7 กิโลเมตร ผ่านบริเวณตลาดน�้าวัดบางน�้าผึ้ง

                 ต้นจากในป่าชายเลน                           และสวนศรีนครเขื่อนขันธ์  และจุดอื่นๆ ที่น่าสนใจ ใช้
                        จุดที่ 9  วัดบางกะเจ้านอก การตั้งถิ่นฐาน  ระยะเวลาในการปั่นประมาณ 2-3 ชั่วโมง ก�าหนดเค้าโครง
                 ในสมัยโบราณ นิยมตั้งบ้านเรือนติดแม่น�้า เพื่อเป็นเส้น  เรื่องในการสื่อความหมายคือ “บางกะเจ้า หลากหลายมิติ
                 ทางในการสัญจร                               ของความเป็นเอกลักษณ์โดดเด่น ทางด้านธรรมชาติ วิถี
                        จุดที่ 10  บ้านทรงไทยโบราณ สถาปัตยกรรม  ชีวิตของชุมชนประเพณี วัฒนธรรม ที่มีความสอดคล้อง
                 ที่เป็นเอกลักษณ์ และเป็นภูมิปัญญาของคนไทย   กลมกลืน ท่ามกลางความเจริญของเขตเมือง” ในเส้นทาง
                                                             ประกอบด้วยจุดสื่อความหมายรวม 10 จุด
                        ชุดแผ่นสื่อความหมายแบบคล้องคอประกอบ
                 การสื่อความหมายในเส้นทางจักรยาน มีค่าใช้จ่ายใน       เอกสารและสิ่งอ้างอิง
                 การจัดท�าประมาณชุดละ 250 บาท (ขึ้นอยู่กับวัสดุ และ
                 จ�านวนที่ใช้ในการจัดท�า) โดยให้มีการเช่า/ซื้อ บริเวณ  กรมป่าไม้. 2554. ประวัติความเป็นมาพื้นที่สีเขียว
                 ที่มีการเช่าจักรยาน ได้แก่ สวนป่าเกดน้อมเกล้า และ     เชิงนิเวศนครเขื่อนขันธ์.  ส�านักโครงการพระ
                 สวนศรีนครเขื่อนขันธ์ น�าเงินรายได้ใช้บ�ารุงรักษาและ     ราชด�าริและกิจการพิเศษ ศูนย์จัดการพื้นที่
                 พัฒนาเส้นทาง สิ่งอ�านวยความสะดวก ป้ายเตือนต่างๆ      สีเขียวเชิงนิเวศนครเขื่อนขันธ์ โครงการสวน
                 ในเส้นทางให้เกิดความปลอดภัย และผลิตชุดแผ่นป้าย      กลางมหานคร อ�าเภอพระประแดง จังหวัด
                 สื่อความหมายทดแทนให้เพียงพอกับความต้องการ           สมุทรปราการ. กรุงเทพฯ.

                 ของนักปั่นจักรยาน                           กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช.  2549.
                                                                     การจัดท�าเส้นทางศึกษาธรรมชาติ.  ส่วน
                                  สรุป                               นันทนาการและสื่อความหมาย ส�านักอุทยาน


                        การศึกษาเพื่อพัฒนาโปรแกรมสื่อความหมาย        แห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ
                 ในเส้นทางจักรยานพื้นที่บางกะเจ้า พบว่า นักปั่นจักรยาน  พันธุ์พืช, กรุงเทพฯ.
                 มีความต้องการให้เส้นทางจักรยานนี้มีการพัฒนา  ดรรชนี  เอมพันธุ์. 2547. เอกสารประกอบการเรียน
                 โปรแกรมสื่อความหมายเพื่อให้นักปั่นจักรยานได้รับ     วิชา 308511 หลักนันทนาการและการท่อง
                 ความรู้และความเพลิดเพลินเพิ่มขึ้น โดยต้องการให้มี   เที่ยวทางธรรมชาติ. ภาควิชาอนุรักษวิทยา
                 การน�าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่น่าสนใจของบางกะเจ้า  คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

                 ในเส้นทางจักรยาน ด้วยชุดแผ่นพิมพ์เคลือบพลาสติกใช้   กรุงเทพฯ.
                 คล้องคอนักปั่นจักรยาน และเสนอแนะให้ปรับปรุง  _____, สุทัศน์ วรรณเลิศ และ เรณุกา รัชโน. 2547. คู่มือ
                 สิ่งอ�านวยความสะดวกให้อยู่ในสภาพปลอดภัย ติดตั้ง     การจ�าแนกเขตท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยหลัก
                 ป้ายบอกทิศทาง หรือสถานที่เพิ่มเติม ป้ายเตือนต่างๆ   การช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ. ภาควิชา
                 และหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน ป้ายระเบียบหรือข้อ        อนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย
                 ปฏิบัติในการใช้เส้นทาง ป้ายผังโครงข่ายเส้นทางจักรยาน   เกษตรศาสตร์. เสนอต่อ การท่องเที่ยวแห่ง
                 เพิ่มขนาดความกว้างของเส้นทางให้สามารถใช้เส้นทาง     ประเทศไทย. กรุงเทพฯ.

                 ร่วมกันได้สะดวก รวมถึงการสร้างห้องสุขา ณ จุดพัก  พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2540.  วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และ
                 รถจักรยาน การพัฒนาสื่อความหมายในเส้นทางจักรยาน      สังคมศาสตร์.  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
                 บางกะเจ้า ก�าหนดให้เส้นทางจักรยานที่มีการสื่อความหมาย  ประสานมิตร, กรุงเทพฯ.
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113