Page 111 -
P. 111
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 108-118 (2557) 109
์
Readiness level to withstand flood overview was at the high level. Factors affecting the
readiness of people to withstand flood were age, educational level, household income, participation
in the relevant activities about withstand flood, having the support from the relevant agencies to
withstand flood, knowledge about cause of flood and knowledge about soil and water conservation.
Keywords: Readiness, Flood, Nakhon Si Thammarat province
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ระดับความพร้อม และปัจจัยที่มี
ผลต่อความพร้อมของประชาชนในการรับมืออุทกภัยในต�าบลเทพราช อ�าเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยใช้
แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ท�าการสัมภาษณ์ประชากรตัวอย่างจ�านวน 249 คน และข้อมูลทางสถิติ
ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต�่าสุด ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-test และ F-test
ก�าหนดนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
จากการศึกษาพบว่า ประชากรตัวอย่างเป็นเพศชาย ร้อยละ 54.60 มีอายุเฉลี่ยที่ 45.96 ปี มีการศึกษาในระดับ
ประถมศึกษาไม่ได้เรียนหนังสือ ร้อยละ 62.65 มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.88 คน มีอาชีพหลักท�าการเกษตร ร้อยละ
86.75 ไม่มีอาชีพรอง ร้อยละ 85.14 มีรายได้เฉลี่ย 173,420 บาท/ปี มีการตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่นี้ตั้งแต่เกิด ร้อยละ 72.70
ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐานเฉลี่ย 39.84 ปี และไม่เคย มีประสบการณ์ในการเป็นผู้น�า ร้อยละ 85.10 เคยมีประสบการณ์
ได้รับความเสียหายจากอุทกภัยในอดีต ร้อยละ 93.17 และเคยได้รับข่าวสารเตือนภัยอุทกภัย ร้อยละ 98.00 ส่วนใหญ่
เคยมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวกับการรับมืออุทกภัยอยู่ในระดับต�่า ร้อยละ 65.46 และได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน
ป้องกันภัยพิบัติอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 58.23 มีความรู้เกี่ยวกับสาเหตุการเกิดอุทกภัย และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์
ดินและน�้า อยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 54.60 และ 51.80 ตามล�าดับ
ด้านระดับความพร้อมในการรับมืออุทกภัยภาพรวมทั้งหมดอยู่ในระดับสูง ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมของ
ประชาชนในการรับมืออุทกภัย ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ของครัวเรือน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
กับการรับมืออุทกภัย การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานป้องกันภัยพิบัติ ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุการเกิดอุทกภัย
และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน�้า
ค�าส�าคัญ: ความพร้อม อุทกภัย จังหวัดนครศรีธรรมราช
ค�าน�า กับอุทกภัย ภาคใต้ของประเทศถือว่าเป็นพื้นที่หนึ่งที่
ประสบกับปัญหาอุทกภัยบ่อยครั้ง เมื่อเทียบกับภาคอื่นๆ
ปัจจุบันประเทศไทยได้รับผลกระทบจากภัย อันเนื่องมาจากสภาพภูมิประเทศที่เป็นคาบสมุทรมีทะเล
พิบัติทางธรรมชาติที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น และจ�านวน ขนาบอยู่ 2 ด้าน ท�าให้ได้รับอิทธิพลจากทะเลและลม
ครั้งในการเกิดต่อปีสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับในอดีต มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
โดยเฉพาะภัยพิบัติจากอุทกภัยที่สร้างความเสียหายแก่ จึงท�าให้ภาคใต้มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี (ส�านักงาน
เศรษฐกิจของประเทศ คิดเป็นมูลค่าปีละหลายล้านบาท ชลประทานที่ 16, 2554) และบ่อยครั้งที่เกิดเหตุอุทกภัย
ที่ต้องใช้ในการฟื้นฟูประเทศหลังจากหลังจากประสบ น�้าป่าไหลหลากและดินโคลนถล่มสร้างความเสียหาย