Page 122 -
P. 122

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 120                      Thai J. For. 33 (1) : 119-129 (2014)



                 consultations of groundwater techniques. Eventually, the outcome will lead to the most effective
                 groundwater operational control in the local government when completing decentralized process.

                 Keywords: Satisfaction, Mission Transfer of Ground Water


                                                      บทคัดย่อ

                        การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะเศรษฐกิจและสังคมและเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจ

                 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาลในจังหวัดนครราชสีมาโดยใช้แบบสอบถาม
                 เก็บตัวอย่างทั้งหมด 280 ตัวอย่าง ระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม พ.ศ. 2555 วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติได้แก่ ร้อยละ
                 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมติฐานด้วย t-test และค่า F-test ซึ่งก�าหนดนัยส�าคัญทางสถิติที่
                 ระดับ 0.05

                        การศึกษา พบว่า ประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ 68.6 ได้รับการศึกษาในระดับ
                 ปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 31.8 ระยะเวลาการด�ารงต�าแหน่งงาน 3-6 ปี คิดเป็นร้อยละ 45.7 นอกเหนือจากน�้าบาดาล
                 แล้วในชุมชนยังใช้น�้าจากบ่อน�้าธรรมชาติหรือหนองน�้า คิดเป็นร้อยละ 33.5
                        ผลการทดสอบสมติฐานความพึงพอใจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาล

                 พบว่า เพศ  ระดับการศึกษา  ความรู้เกี่ยวกับการกระจายอ�านาจ ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์น�้าบาดาล  จ�านวนบุคลากร
                 รายได้รวมของท้องถิ่น โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ข้อเสนอแนะควรมีการอบรมเสริมสร้าง
                 ศักยภาพ บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการให้ความรู้ ให้ค�าปรึกษาในการบริหารจัดการน�้าบาดาลที่
                 สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมแต่ละท้องถิ่นและหน่วยงานของรัฐควรจะจัดให้มีเจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคใน

                 การให้ค�าปรึกษา แนะน�าต่อท้องถิ่น เพื่อให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

                 ค�าส�าคัญ: ความพึงพอใจ  การถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาล


                                 ค�าน�า                      ในช่องว่างของดิน หิน กรวด ทราย ซึ่งจ�าแนกออกได้

                        ในทางอุทกธรณีวิทยา (hydro-geology)ได้แบ่ง  เป็นประเภทย่อย คือ น�้าในดิน ซึ่งหมายถึง น�้าที่แทรก
                 น�้าบนพื้นผิวโลกออกเป็น 3 ประเภท ประเภทแรกน�้าใน  อยู่ตามรูพรุนของหินหรือแร่ต่างๆ ชั้นน�้าใต้ดินจัดเป็น
                 บรรยากาศหรือหยาดน�้าฟ้า (precipitation) ปรากฏอยู่  ชั้นน�้าที่ยังไม่อิ่มตัว ส่วนใหญ่ปรากฏอยู่ติดกับผิวดินและ
                 ในบรรยากาศที่อยู่สูงกว่าระดับผิวดินขึ้นไปซึ่งอาจพบ  เป็นส่วนที่สัมผัสอากาศ (aeration zone) น�้าในดินนี้ส่วนหนึ่ง
                 ได้ใน 3 สถานะ คือ ไอน�้า เช่น เมฆและหมอก สถานะ  จะถูกพืชดูดเอาไปใช้ประโยชน์ น�้าบาดาล  (ground

                 ที่เป็นของเหลว เช่น ฝนและน�้าค้าง และสถานะที่เป็น  water) ซึ่งหมายถึง น�้าที่แทรกหรือถูกกักขังอยู่ในช่องว่าง
                 ของแข็ง เช่น หิมะและลูกเห็บ เป็นต้น ประเภทที่สองน�้า  รอยแยก รอยแตกหรือโพรงหิน โดยมีวัตถุตัวกลางที่
                 ผิวดิน (surface water) ซึ่งหมายถึงน�้าที่เกิดจากการกลั่น  เก็บกักน�้าคือ ชั้นหินอุ้มน�้า (aquifer) น�้าบาดาลจัดเป็น
                 ตัวของน�้าในบรรยากาศปรากฏอยู่ในแหล่งน�้าลักษณะ  ชั้นที่อิ่มตัวแล้ว จากการแบ่งประเภทของน�้าตามหลัก
                 ต่างๆ เช่น ล�าคลอง หนอง บึง แม่น�้า ทะเลสาบ รวมไป  วิชาการดังกล่าวท�าให้สามารถสรุปได้ว่า น�้าบาดาล คือ
                 ถึงภูเขาน�้าแข็งบริเวณขั้วโลก ประเภทที่สามน�้าใต้ดิน   ส่วนหนึ่งของน�้าใต้ดินที่ถูกกักเก็บไว้ในชั้นหินและจัด
                 (underground water) ได้แก่ น�้าที่ไหลซึมไปกักเก็บอยู่  เป็นชั้นน�้าที่อิ่มตัวแล้ว (saturation zone)
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127