Page 124 -
P. 124

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 122                      Thai J. For. 33 (1) : 119-129 (2014)




                 การถ่ายโอนภารกิจรวมทั้งปัญหาและอุปสรรคที่เกิด         2.2 การทดสอบแบบสอบถาม ผู้วิจัยได้
                 จากการถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาลในพื้นที่จังหวัด  ท�าการทดสอบความเที่ยงตรง (validity) โดยสร้าง
                 นครราชสีมา และ 3) เพื่อก�าหนดข้อเสนอแนะ แนวทาง  แบบสอบถาม แล้วน�าเสนอต่อประธานที่ปรึกษาและ
                 การพัฒนากลไกการถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาลของ  กรรมการที่ปรึกษาร่วม เพื่อตรวจสอบ แก้ไข ขอค�า
                 กรมทรัพยากรน�้าบาดาลให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  แนะน�าในการปรับปรุงแก้ไขให้มีความเที่ยงตรงมาก
                 ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา                  ยิ่งขึ้น  ส่วนการทดสอบความเชื่อมั่น (reliability) เมื่อ
                                                             ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามแล้ว จากนั้นผู้วิจัยในน�า
                          อุปกรณ์และวิธีการ                  แบบสอบถามไปทดสอบ (pre-test) ใช้กับสมาชิกองค์กร

                        อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ประกอบ  ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ใกล้เคียงกับพื้นที่ศึกษา
                 ด้วย 1) แบบสอบถาม 2) เครื่องคอมพิวเตอร์/โปรแกรม  จ�านวน 30 ชุด ซึ่งเครื่องมือวิจัยชุดนี้มีทั้งเครื่องมือที่

                 วิเคราะห์ทางสถิติ และ 3) กล้องถ่ายรูปและเครื่องเขียน   วัดความรู้ความเข้าใจและเครื่องมือที่สอบถามความคิด
                 โดยมีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล  เห็น จะมีวิธีการหาค่าความเชื่อมั่นแตกต่างกันไปดังนี้
                 ดังนี้                                                ก.  การหาค่าความเชื่อมั่นแบบวัดความรู้
                        1  . ประชากรเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้คือ   ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้ด้านการกระจายอ�านาจและ
                 นายกองค์การบริหารส่วนต�าบล หรือนายกเทศมนตรี   ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์น�้าบาดาล โดยใช้วิธีของ คูเดอร์-

                 หรือรองนายก ปลัดเทศบาลหรือปลัดองค์การบริหาร  ริชาร์ดสัน Kuder Richardson (KR-20) (พวงรัตน์, 2540)
                 ส่วนต�าบล หัวหน้าส่วนโยธาองค์การบริหารส่วนต�าบลและ  ได้ค่าความเชื่อมั่น = 0.895 และ 0.880
                 เทศบาล และสมาชิกสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น           ข.  การหาค่าความเชื่อมั่นแบบสอบถาม
                 อีกแห่งละ 4 คน ซึ่งประกอบไปด้วยองค์การบริหารส่วน  ความคิดเห็นโดยใช้วิธีหาค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟาของ
                 ต�าบล 33 แห่ง และเทศบาลต�าบล 7 แห่งรวมเป็น 40 แห่ง  ครอนบาค (Cronbach’salpha coefficient) (บุญธรรม,
                 ภายในจังหวัดนครราชสีมา ทั้งหมด 280 ตัวอย่างซึ่งใช้  2537) ได้ค่าความเชื่อมั่น =0.896
                 เทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purpose sampling)     3. การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นขั้นตอนหลังจาก

                        2  . เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย      การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจนครบ
                          2.1 การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามเป็น  ถ้วนตามจ�านวนที่ก�าหนดไว้ หลังจากนั้นจึงน�าข้อมูล
                 เครื่องมือ โดยการสร้างแบบสอบถามให้มีข้อค�าถาม  ค�าตอบของแบบสอบถามมาเปลี่ยนเป็นสัญลักษณ์

                 ครอบคลุมตัวแปรทุกตัวที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ โดย  ตัวเลข โดยการลงรหัส (coding) เพื่อแทนค่าตัวแปร
                 แบ่งเนื้อหาของแบบสอบถามเป็น 8 ตอนซึ่งมีลักษณะ  ต่างๆ ในแบบสอบถามแล้วน�าไปประมวลผลข้อมูล
                 ข้อค�าถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ (check-list)   โดยใช้คอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรมส�าเร็จรูป ซึ่งเป็น
                 ประเภทแบบมาตราส่วนประเมินค่า (rating scale)  ข้อ  โปรแกรมที่ใช้ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ส�าหรับสถิติ
                 ค�าถามในลักษณะเชิงบวก และเชิงลบ มีค�าตอบแบบ  ที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ได้แก่
                 เลือกตอบ 2 ตัวเลือก คือ ใช่ และไม่ใช่  ประเภทข้อ       3.1 สถิติพรรณนา (descriptive statistics)

                 ค�าถามแบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ ตามวิธีของ   ใช้ค่าทางสถิติได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ
                 Likert’Scale  ค�าถามเป็นแบบปลายเปิด (opened ended   (percentage) ค่าเฉลี่ย (means) ค่าสูงสุด (maximum) ค่า
                 questions) ที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบค�าถามแสดงความคิด  ต�่าสุด (minimum) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard
                 เห็นที่ต้องการลงในช่องว่าง                  deviation)
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129