Page 129 -
P. 129

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                         วารสารวนศาสตร 33 (1) : 119-129 (2557)                   127
                                                        ์



                 10.239*, Sig. = 0.000) และด้านการบริหารจัดการ  ปกครองส่วนท้องถิ่น โดยทดสอบความแตกต่างของ
                 น�้าบาดาล (F-test = 8.285*, Sig. = 0.000) แตกต่างกัน  ระดับความพึงพอใจในแต่ละด้าน พบว่า กลุ่มตัวอย่าง
                 อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยส�าคัญ 0.05 ซึ่งเป็น  มีความพึงพอใจด้านการขุดเจาะบ่อน�้าบาดาล  (F-test
                 ไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ส่วนระดับความพึงพอใจ  = 23.174*, Sig. = 0.001)  ด้านการพัฒนาเป่าล้างบ่อ
                 ต่อการถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาลของกรมทรัพยากร  น�้าบาดาลเดิม การซ่อมบ�ารุงเครื่องสูบน�้า (F-test =

                 น�้าบาดาลไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยภาพรวม   23.569*, Sig. = 0.011)    ด้านการเรียกเก็บค่าใช้น�้าบาดาล
                 แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยส�าคัญ   (F-test = 33.145*, Sig. = 0.002)  ด้านการอนุญาตเจาะ
                 0.05 (F-test = 21.828*, Sig. = 0.000)  ซึ่งเป็นไปตาม  บ่อน�้าบาดาลและการอนุญาตใช้น�้าบาดาล (F-test =

                 สมมติฐานที่ตั้งไว้ เนื่องจากการปฏิบัติงานหรือภารกิจ  13.096*, Sig. = 0.000)  และด้านการบริหารจัดการ
                 ต่างๆ ขององค์กรนั้นจ�าเป็นจะต้องอาศัยบุคลากรทั้งสิ้น   น�้าบาดาล (F-test = 15.191*, Sig. = 0.000)  แตกต่างกัน
                 รวมถึงภารกิจด้านน�้าบาดาลเองซึ่งภารกิจที่ได้ถ่ายโอน  อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยส�าคัญ 0.05 ซึ่งเป็น
                 นั้นจ�าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ด้านน�้า  ไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ส่วนระดับความพึงพอใจต่อ
                 บาดาลความเชี่ยวชาญการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร ที่  การถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาลของกรมทรัพยากรน�้า

                 เกี่ยวกับการประกอบกิจการน�้าบาดาลซึ่งแต่ละองค์กร  บาดาลไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยภาพรวม
                 ปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นจากการเก็บข้อมูลพบว่าจ�านวน  แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับนัยส�าคัญ
                 บุคลากรนั้นมีจ�านวนมากแต่บุคลากรเหล่านี้ขาดความรู้   0.05  (F-test = 34.484*, Sig. = 0.000)  ซึ่งเป็นไปตาม

                 ความช�านาญที่เกี่ยวข้องกับน�้าบาดาล         สมมติฐานที่ตั้งไว้  เนื่องจากการปฏิบัติภารกิจต่างๆ
                        สมมติฐานที่ 7  ผลการทดสอบสมมติฐาน    นั้นจ�าเป็นต้องจัดหางบมาด�าเนินการซึ่งแต่ละองค์กร
                 พบว่า  กลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น   ปกครองส่วนท้องถิ่นต่างมีรายได้ที่แตกต่างกัน ตามการ
                 แตกต่างกันทั้ง 4 กลุ่ม มีระดับความพึงพอใจต่อการถ่าย  พัฒนาของพื้นที่นั้น สรุปการทดสอบสมมติฐานระหว่าง
                 โอนภารกิจของกรมทรัพยากรน�้าบาดาลไปสู่องค์กร  ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามดัง Table 2


                 Table 2  Summary of factor Satisfaction of the local administrative organizations to the mission
                         transfer of groundwater: A case study  in Nakhon Ratchasima province.

                 Independent variables                         t               F           Value
                 1. Gender                                   -4.116            -           0.000
                 2.  Educational level                         -             8.343         0.000
                 3.  Term of office                            -             1.623         0.184
                 4.  Knowledge of decentralized concept      4.038             -           0.000
                 5.  Knowledge of groundwater resource       4.619             -           0.000
                       Conservation
                 6.  Sufficient operational workers            -             21.828        0.000
                 7.  Local budget                              -             34.484        0.000
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134