Page 130 -
P. 130
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
128 Thai J. For. 33 (1) : 119-129 (2014)
สรุป พบว่า ด้านการบริหารจัดการน�้าบาดาล การซ่อมบ�ารุง
เครื่องสูบน�้า การเรียกเก็บค่าใช้ น�้าบาดาลการอนุญาต
1. เพื่อศึกษาสถานภาพและปัจจัยที่มีผลต่อ เจาะบ่อน�้าบาดาลและการอนุญาตใช้น�้าบาดาล อยู่ใน
ความพึงพอใจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการ ระดับปานกลาง
รับการถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาล ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย
ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อยู่ใน 1. กรมทรัพยากรน�้าบาดาลต้องสนับสนุน
ช่วงอายุ 41-50 ปี มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี เพิ่มเติมด้านความรู้เกี่ยวกับการกระจายอ�านาจการถ่ายโอน
ต�าแหน่งหน้าที่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วน ภารกิจด้านน�้าบาดาลให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ใหญ่ คือ สมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล ภูมิล�าเนา 1.1 ก�าหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานเมื่อได้
เดิมอยู่ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ระยะเวลาด�ารงต�าแหน่ง รับการถ่ายโอนภารกิจ
อยู่ระหว่าง 3-6 ปี จ�านวนบุคลากรในองค์กรปกครอง 1.2 องค์การบริหารส่วนต�าบลจะต้องจัด
ส่วนท้องถิ่นมีจ�านวนมากกว่า 30 คนขึ้นไป องค์กรปกครอง ท�าภารกิจด้านน�้าบาดาลที่รับการถ่ายโอนให้เป็นไป
ส่วนท้องถิ่นอยู่ในระดับชั้น 1 คือรายได้ตั้งแต่ 20 ล้าน ตามมาตรฐานการบริหารจัดการน�้าบาดาลอย่างถูกต้อง
บาทขึ้นไป ในชุมชนมีการใช้น�้าบาดาลเพื่อผลิตประปา ตามหลักวิชาการ
หมู่บ้าน คุณภาพน�้าในชุมชนมีคุณภาพดี นอกจาก 1.3 การรายงานผล ก�าหนดให้มีระบบ
น�้าบาดาลแล้วชุมชนยังมีการใช้น�้าจากบ่อน�้าธรรมชาติ ติดตาม ตรวจสอบ สนับสนุน และรายงานผลการถ่าย
หรือหนองน�้า ในอดีตถึงปัจจุบันน�้าบาดาลไม่มีการ โอนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้กรมทรัพยากร
เปลี่ยนแปลงคุณภาพ ประชาชนในชุมชนล้วนมีส่วน น�้าบาดาลทราบอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการพัฒนากลไก
ร่วมในการดูแลบ่อน�้าบาดาลโดยการแจ้งองค์กรปกครอง การสนับสนุนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความ
ส่วนท้องถิ่นเพื่อดูแลซ่อมบ�ารุง นอกจากน�้าบาดาลแล้ว ต้องการอย่างแท้จริง
ชุมชนยังมีน�้าเพื่อการบริโภคซึ่งได้มาจากน�้าฝน 1.4 ควรผลักดันให้องค์กรปกครองส่วน
2. ความพึงพอใจขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นได้บริหารจัดการค่าธรรมเนียมและรายได้ที่
ท้องถิ่นต่อการรับการถ่ายโอนภารกิจรวมทั้งปัญหาและ สามารถน�ามาพัฒนากิจการน�้าบาดาลให้กับท้องถิ่น
รวมถึงการพัฒนาบทบาทความพร้อมขององค์กรปกครอง
อุปสรรคที่เกิดจากการถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาล ส่วนท้องถิ่นขนาดเล็กให้มีความสามารถรับการถ่ายโอน
การศึกษาเรื่องความพึงพอใจขององค์กร ในอนาคตได้
ปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการรับการถ่ายโอนภารกิจด้าน 2. การให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการน�้าบาดาล
น�้าบาดาลซึ่งในการท�าวิจัยได้ก�าหนดไว้ 8 ตัวแปรที่อาจ ควรจะเพิ่มเติมความรู้ด้าน การบ�ารุง รักษา และการเป่า
มีผลต่อความพึงพอใจ จากการศึกษา พบว่า ตัวแปรที่มี ล้างบ่อน�้าบาดาล
ผลต่อความพึงพอใจมี 7 ตัวแปร ได้แก่ เพศ ระดับการ 2.1 ควรมีการอบรม และส่งเจ้าหน้าที่หรือ
ศึกษา ความรู้เกี่ยวกับการกระจายอ�านาจ ความรู้เกี่ยวกับ สนับสนุนเครื่องมือ ความรู้ด้านเทคนิคและการส�ารวจ
การอนุรักษ์น�้าบาดาล จ�านวนบุคลากร รายได้รวมของ ประเมินศักยภาพน�้าบาดาลรวมถึงการให้ความรู้ด้าน
ท้องถิ่น การวางแผนการเตรียมความพร้อมต่อการถ่าย การขุดเจาะบ่อน�้าบาดาลและขั้นตอนการสร้างบ่อน�้า
โอนภารกิจ ระดับความพึงพอใจขององค์กรปกครอง บาดาลเพื่อน�าน�้าบาดาลขึ้นมาใช้ประโยชน์
ส่วนท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาลโดย 2.2 พัฒนาองค์ความรู้ให้ผู้ปฏิบัติงานที่
รวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาในรายด้าน เกี่ยวข้องด้านกฎ ระเบียบ เกี่ยวกับการออกใบอนุญาต