Page 123 -
P. 123

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                         วารสารวนศาสตร 33 (1) : 119-129 (2557)                   121
                                                        ์



                        กระบวนการการกระจายอ�านาจจากราชการ    อยากให้มีการศึกษาความพึงพอใจในการถ่ายโอนและ
                 ส่วนกลางไปสู่ภาคประชาชนในระดับท้องถิ่นเริ่มจาก  น�าผลไปใช้ประโยชน์ ความส�าคัญของปัญหา เพื่อศึกษา
                 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540   ความพึงพอใจ ทางด้านการอนุญาตเจาะบ่อน�้าบาดาล
                 โดยมีสาเหตุมาจากข้อจ�ากัดของหน่วยงานราชการส่วน  และการอนุญาตใช้น�้าบาดาล  การเรียกเก็บเงินค่าใช้น�้า
                 กลางในการบริหารจัดการระดับท้องถิ่น การกระจาย  บาดาล การเจาะบ่อสาธารณะเพื่อกิจกรรมของท้องถิ่น
                 อ�านาจไปยังท้องถิ่นนั้นจะเป็นการถ่ายโอนภารกิจและ  ของตนเอง การซ่อมบ�ารุงเครื่องสูบน�้าบาดาลแบบบ่อ
                 อ�านาจการตัดสินใจไปยังท้องถิ่น (อปท.) นอกจากนั้น  ลึก การพัฒนาเป่าล้างบ่อน�้าบาดาล จากปัญหาดังกล่าว
                 ตามพระราชบัญญัติก�าหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย  ข้างต้น ท�าให้ผู้ศึกษามีความสนใจที่จะท�าการศึกษาใน
                 อ�านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พุทธศักราช   เรื่องความพึงพอใจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อ

                 2540 ได้ก�าหนดให้มีการกระจายอ�านาจและภารกิจด้าน  การถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาล
                 การจัดหาสาธารณูปโภคและสาธารณูปการให้แก่องค์กร       จากการค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
                 ปกครองส่วนท้องถิ่นโดยมีสาระส�าคัญคือเป็นการ  ได้แบ่งกลุ่มตัวแปรอิสระที่มีผลต่อความพึงพอใจของ
                 ก�าหนดอ�านาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน   องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจ
                 ท้องถิ่นในการให้บริการสาธารณะและมีผลบังคับใช้  ด้านน�้าบาดาลออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) ปัจจัยส่วนบุคคล
                 ให้ส่วนราชการเลิกท�าภารกิจที่ท้องถิ่นสามารถท�าเองได้  ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา ระยะเวลาด�ารงต�าแหน่ง
                 และให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง ให้ค�าปรึกษาแนะน�า   ความรู้เกี่ยวกับการกระจายอ�านาจ ความรู้เกี่ยวกับการ

                 ก�าหนดมาตรฐานการบริการและการประเมินผลองค์กร  อนุรักษ์น�้าบาดาล 2) ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรปกครอง
                 ปกครองส่วนท้องถิ่น                          ส่วนท้องถิ่น ได้แก่ จ�านวนบุคลากร รายได้รวมของ
                        ดังนั้น การบูรณาการความรับผิดชอบร่วมกัน  ท้องถิ่น ท�าให้ก�าหนดตัวแปรในงานวิจัย ดังนี้
                 ระหว่างท้องถิ่นกับกรมทรัพยากรน�้าบาดาลจึงได้ก�าหนด     1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา
                 ไว้อย่างชัดเจนจัดท�าขึ้นเป็นกรอบการท�างานร่วมกัน กรม  ระยะเวลาด�ารงต�าแหน่ง ความรู้เกี่ยวกับการกระจาย
                 ทรัพยากรน�้าบาดาลเป็นหน่วยงานตั้งขึ้นใหม่  ภายหลัง  อ�านาจ ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์น�้าบาดาล จ�านวน
                 การปฏิรูประบบราชการในปี พ.ศ. 2545 และได้มีการ  บุคลากร รายได้รวมของท้องถิ่น
                 ก�าหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจด้านการพัฒนาและ          2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ความพึงพอใจของ
                 อนุรักษ์แหล่งน�้าบาดาล การบังคับใช้กฎหมายตาม  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจ

                 พระราชบัญญัติน�้าบาดาล พุทธศักราช 2520 จากความ  ด้านน�้าบาดาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งได้
                 จ�าเป็นในข้างต้นที่กล่าวมานั้น ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจ  ก�าหนดเป็น 5 ภารกิจ ได้แก่ ด้านการเจาะบ่อสาธารณะ
                 ที่จะศึกษาในเรื่องความพึงพอใจขององค์กรปกครอง  เพื่อกิจกรรมของท้องถิ่นเอง ด้านการอนุญาตเจาะน�้า
                 ส่วนท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจด้านน�้าบาดาล เพื่อ  บาดาลและการอนุญาตใช้น�้าบาดาล ด้านการพัฒนาเป่า
                 เป็นการเตรียมความพร้อมขององค์กรปกครองส่วน   ล้างบ่อน�้าบาดาลเดิม  ด้านการซ่อมบ�ารุงเครื่องสูบน�้า
                 ท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจและเพื่อพัฒนากลไก  แบบบ่อลึก และด้านการเรียกเก็บค่าใช้น�้าบาดาล
                 ของกรมทรัพยากรน�้าบาดาลในการถ่ายโอนภารกิจให้        การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษา

                 สอดคล้องกับการท�างานขององค์กรปกครองส่วน     สถานภาพและปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจขององค์กร
                 ท้องถิ่น เหตุผลที่ท�าการวิจัยในจังหวัดนครราชสีมา  ปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจด้านน�้า
                 เพราะเป็นจังหวัดน�าร่อง รวมทั้งองค์กรปกครองส่วน  บาดาล กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อ
                 ท้องถิ่นมีความหลากหลาย กรมทรัพยากรน�้าบาดาล  ศึกษาความพึงพอใจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อ
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128