Page 192 -
P. 192

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

              188



                     การเข้าเป็นสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล   17.3 มีการติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้เกี่ยวกับ
              ส่วนใหญ่มาจากการได้รับเลือกตั้ง ร้อยละ 59.4 ส่วน  การควบคุมไฟป่าเฉลี่ย 1.53 ครั้งต่อปี โดยความถี่สูงสุด
              อีกร้อยละ 40.6 เป็นสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล  5 ครั้งต่อปี และองค์การบริหารส่วนต�าบลส่วนใหญ่

              โดยต�าแหน่ง ต�าแหน่งหน้าที่ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกสภา  มีการบรรจุวาระเกี่ยวกับภารกิจการควบคุมไฟป่าใน
              องค์การบริหารส่วนต�าบล คิดเป็นร้อยละ 46.4 รองลงมา   การประชุมสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล คิดเป็น
              คือ พนักงานส่วนท้องถิ่น ร้อยละ 20.1 และข้าราชการ  ร้อยละ 54.8 โดยเฉลี่ยมีการจัดประชุมสมาชิกองค์การ
              ส่วนท้องถิ่น ร้อยละ 19.3 ส่วนใหญ่มีระยะเวลาในการ  บริหารส่วนต�าบล 7.86 ครั้งต่อปี และจากการทดสอบ

              ครองต�าแหน่งปัจจุบันน้อยกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 35.5   ด้วยค�าถามเกี่ยวกับไฟป่าและการควบคุมไฟป่า จ�านวน
              โดยมีระยะเวลาครองต�าแหน่งปัจจุบันนานที่สุด คือ 19 ปี   20 ข้อ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 14.67 คะแนน โดยสมาชิก
              สั้นที่สุด คือ 2 เดือน และมีระยะเวลาครองต�าแหน่ง  องค์การบริหารส่วนต�าบลตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้
              ปัจจุบันเฉลี่ย 3.42 ปี มีระยะห่างระหว่างที่พักอาศัยกับ  ความเข้าใจอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 61.4

              พื้นที่ป่าเฉลี่ย 7.01 กิโลเมตร ส่วนใหญ่อยู่ห่างจากพื้นที่ป่า
              5-10 กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 27.7 รองลงมาอยู่ห่างจาก  ระดับความพร้อมของสมาชิกองค์การบริหาร
              พื้นที่ป่าน้อยกว่า 5 กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 27.1 โดยมี  ส่วนต�าบลในการควบคุมไฟป่า จังหวัดอุดรธานี
              ระยะห่างจากพื้นที่ป่ามากที่สุด 30 กิโลเมตร และน้อย     ผู้วิจัยได้ตั้งค�าถามเกี่ยวกับรูปแบบหรือลักษณะ

              ที่สุด 0.5 กิโลเมตร  ส่วนองค์การบริหารส่วนต�าบล
              ที่ท�างานตั้งอยู่ห่างจากพื้นที่ป่าเฉลี่ย 7.25 กิโลเมตร   ของความพร้อมในการปฏิบัติงานควบคุมไฟป่าตามหลัก
              ส่วนใหญ่อยู่ห่างจากพื้นที่ป่ามากกว่า 8 กิโลเมตร คิด  วิชาการและแนวทางในการปฏิบัติภารกิจการควบคุม
              เป็นร้อยละ 32.9 รองลงมาอยู่ระหว่าง 2-4 กิโลเมตร คิด  ไฟป่าที่ได้ถ่ายโอนให้แก่องค์การบริหารส่วนต�าบล ซึ่งจ�าแนก

              เป็นร้อยละ 21.9 โดยมีระยะห่างจากพื้นที่ป่ามากที่สุด   ออกเป็น 2 ด้านหลัก จากผลการศึกษาพบว่า 1) ความ
              30 กิโลเมตร และน้อยที่สุด 1 กิโลเมตร         พร้อมด้านการป้องกันไฟป่าอยู่ในระดับน้อย มีค่าเฉลี่ย
                     ผลการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่ไม่ได้รับสวัสดิการ  2.40 คะแนน 2) ความพร้อมด้านการปฏิบัติการดับไฟป่า
              ในการปฏิบัติงานควบคุมไฟป่า คิดเป็นร้อยละ 90.2   อยู่ในระดับน้อย มีค่าเฉลี่ย 2.39 คะแนน และความพร้อม

              และไม่เคยได้รับการฝึกอบรมด้านการควบคุมไฟป่า   ของสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบลตัวอย่างในการ
              คิดเป็นร้อยละ 84.7 และไม่มีการติดต่อประสานงาน  ควบคุมไฟป่าในภาพรวม มีค่าเฉลี่ย 2.42 คะแนน ซึ่ง
              กับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ คิดเป็นร้อยละ 82.7 และอีกร้อยละ   อยู่ในระดับน้อย ดังแสดงใน Table 1


              Table 1  Readiness of tambon administration organization members on forest fire control, Udon
                       Thani province.

                    Readiness of tambon administration                                 Level of
                 organization members on forest fire control     X          SD        readiness

                            Forest fire prevention              2.40       0.889         Low
                           Forest fire suppression              2.39       0.945         Low
                             Forest fire control                2.42       0.935         Low
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197