Page 190 -
P. 190

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

              186



              นโยบาย และแก้ไขปัญหาไฟป่าและพัฒนาศักยภาพ     การสร้างและทดสอบแบบสอบถาม
              ความพร้อมให้แก่สมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบลใน       1. นิยามหรือให้ความหมายตัวแปรตามกรอบ
              การควบคุมไฟป่าต่อไป                          แนวคิดของงานวิจัยที่ก�าหนดขึ้นจากการศึกษาแนวคิด

                                                           ทฤษฎี และผลงานที่เกี่ยวข้อง
                        อุปกรณ์และวิธีการ                         2. สร้างแบบสอบถามโดยครอบคลุมตัวแปร

                                                           ทุกตัวที่ต้องการวัด ซึ่งก�าหนดไว้ตามกรอบแนวคิด
                     การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีอุปกรณ์ในการเก็บข้อมูล   ประกอบกับข้อมูลที่ได้จากการตรวจเอกสาร
              คือ แบบสอบถาม และแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน         3. ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content
              1: 50,000 จากกรมป่าไม้ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และ  validity) โดยขอค�าแนะน�าในการปรับปรุงแก้ไขแบบ
              โปรแกรมส�าเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยมีวิธีการ  สอบถาม ให้ตรงตามเนื้อหาและครอบคลุมวัตถุประสงค์

              ด�าเนินการวิจัย ดังนี้                       ในการวิจัยจากประธานกรรมการและกรรมการที่ปรึกษา
                                                           แล้วท�าการปรับแก้
              การตรวจเอกสาร                                       4. ท�าการหาความเชื่อมั่น (reliability) โดยน�า
                     1. การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ โดยการศึกษา  แบบสอบถามไปทดสอบ (pre-test) จ�านวน 30 ชุด โดย
              ค้นคว้าแนวคิดและทฤษฎีจากเอกสารและงานวิจัยที่  ผู้ศึกษาได้น�าแบบสอบถามไปทดสอบกับสมาชิกองค์การ
              เกี่ยวข้อง เพื่อก�าหนดกรอบแนวคิดและขอบเขตการศึกษา  บริหารส่วนต�าบลในจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งเป็นองค์การ

                     2. การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ โดยการรวบรวม  บริหารส่วนต�าบลที่มีลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม
              ข้อมูลเกี่ยวกับพื้นที่ศึกษา เช่น อาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศ   และสถิติการเกิดไฟป่า ใกล้เคียงกับพื้นที่ที่ศึกษา น�าผล
              ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ   ที่ได้มาทดสอบความเชื่อถือของแบบสอบถามในส่วน
              สถิติการเกิดไฟป่าในจังหวัดอุดรธานี           ความรู้เกี่ยวกับไฟป่าและการควบคุมไฟป่า โดยใช้วิธี

                                                           ของ Kuder Richardson สูตร KR-20 (ล้วน และอังคณา,
              การก�าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง             2538) ได้ค่าความน่าเชื่อถือ เท่ากับ 0.899 และใช้วิธีหา

                     ก�าหนดประชากรเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่าง  สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha
              ซึ่งเป็นสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบลที่มีพื้นที่ป่า  coefficient)  เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) ของ
              สงวนแห่งชาติในพื้นที่รับผิดชอบ ในจังหวัดอุดรธานี ซึ่ง  ค�าถามในส่วนของตัวแปรตาม ค่า alpha ที่ได้เท่ากับ 0.940
              มีจ�านวนทั้งสิ้น 88 แห่ง และมีจ�านวนสมาชิกองค์การ     โดยได้แบบสอบถามที่ผ่านการปรับปรุงแล้ว

              บริหารส่วนต�าบล จ�านวน 2,608 คน ท�าการก�าหนดขนาด  แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้
              ตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane, 1973) ที่ระดับ     ส่วนที่ 1 ข้อมูลลักษณะทางเศรษฐกิจและ
              ความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 และควบคุมความคลาดเคลื่อน  สังคมของสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล
              ในการสุ่มตัวอย่างเท่ากับ 0.05 ได้ขนาดกลุ่มสมาชิก     ส่วนที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับไฟป่าและการควบคุม

              องค์การบริหารส่วนต�าบลตัวอย่างที่ต้องการศึกษาใน  ไฟป่าของสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล
              ครั้งนี้ จ�านวน 347 ตัวอย่าง และเพื่อให้การเก็บข้อมูลเกิด     ส่วนที่ 3 ค�าถามเกี่ยวกับความพร้อมของ
              การกระจายตามสัดส่วนที่เหมาะสม ผู้วิจัยจึงได้ใช้สูตร  สมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบลในการควบคุมไฟป่า
              ของสุบงกช (2526) ในการค�านวณหาสัดส่วนตัวอย่างที่  ได้แก่ การปฏิบัติงานป้องกันไฟป่า และ การปฏิบัติงาน
              จะเก็บข้อมูลในแต่ละองค์การบริหารส่วนต�าบล    ดับไฟป่า
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195