Page 185 -
P. 185

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                               181



              ต่างต�าบล (14) พื้นที่ต่างหมู่บ้าน (10) และภายในชุมชน   แรงงานในการหาสมุนไพรในป่าชุมชน จ�านวน 2,000
              (4) ตามล�าดับ ส่วนภายนอกท้องถิ่น จ�าแนกเป็นภายใน  บาทต่อปี แล้วจะสามารถสร้างรายได้สุทธิเฉลี่ย 28,000
              ประเทศ และภายนอกประเทศ คิดเป็นร้อยละ 49 และ   บาทต่อคนต่อปี จากการด�าเนินกิจกรรมได้มีหน่วยงาน

              7 ตามล�าดับ ผู้บริโภคสามารถติดต่อซื้อสินค้าโดยผ่าน  ที่ให้การสนับสนุนและส่งเสริมการผลิตและจ�าหน่าย
              ศูนย์ประสานงานของชุมชนหรือติดต่อโดยตรงกับหมอ  ยาสมุนไพรทั้งภาครัฐและเอกชน ได้แก่ เทศบาลต�าบล
              ยาสมุนไพร ซึ่งราคายาสมุนไพรทุกสูตรจ�าหน่ายใน  ทาปลาดุก เกษตรอ�าเภอแม่ทา ศูนย์พัฒนาชุมชนอ�าเภอ

              ราคาถุงละ 25 บาท โดยในแต่ละปีมีการจ�าหน่ายสินค้า  แม่ทา ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดล�าพูน โรงพยาบาลต�าบล
              เฉลี่ยปีละ 1,200 ถุง คิดเป็นรายได้เฉลี่ย 30,000 บาทต่อ  ทาปลาดุก โรงพยาบาลจังหวัดล�าพูน และบริษัท ผลิต


              คนต่อปี รายได้สุทธิหลังจากหักค่าวัตถุดิบและค่าจ้าง  ไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ากัด (มหาชน)
















                                       Figure 3  Marketing Channel of Herbs.
                     Figure 3 Marketing Channel of Herbs.
                               สรุป                        หมู่บ้านต่อปี โดยคิดมูลค่ารวมของพืชสมุนไพรในป่า


                     ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพร    ชุมชน 68,155,191.20 บาท ศักยภาพป่าชุมชนบ้านทาป่าเปา
              ในป่าชุมชนบ้านทาป่าเปา มีจ�านวนชนิดพันธุ์พืช 68   ในการผลิตพืชสมุนไพรแก่ราษฎรในชุมชนบ้านทาป่าเปา

              ชนิด มีความหนาแน่น 241 ต้นต่อไร่ และดัชนีความ  พบปริมาณความต้องการพืชสมุนไพรกับผลผลิตจาก
              หลากหลายของพืชสมุนไพรของ Shannon-Wiener’s    ป่าชุมชนบ้านทาป่าเปาในด้านชนิดพันธุ์มีปริมาณเพียง
              index  1.45 โดยสามารถจ�าแนกพืชสมุนไพรตามรูปแบบ  พอกับความต้องการของชุมชน แต่ส�าหรับก�าลังวัวเถลิง
              ชีวิตเป็นไม้ยืนต้น 33 ชนิด ไม้เถาเลื้อย 13 ชนิด ไม้ล้มลุก   ก�าลังเสือโคร่ง เจียวกู้หลาน โด่ไม่รู้ล้ม เถารกช้าง ก�าแพง

              11 ชนิด ไม้พุ่ม 9 ชนิด เฟิร์น 1 ชนิด และ พืชเบียน 1 ชนิด   เจ็ดชั้น ผักขมหนาม ผักแคนก ไผ่น้า พญาลิงดา มะกล�่าต้น
              โดยพืชสมุนไพรที่พบมากที่สุด ได้แก่ สาบเสือ พืช  มะกอม มะคังแดง มะขามป้อม มะระขี้นก มะรุม รางจืด
              สมุนไพรที่พบน้อยที่สุด ได้แก่ ไข่เน่า กลุ่มหมอยาพื้นบ้าน  และหญ้างวงช้าง มีปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการ
              คือผู้เก็บหาพืชสมุนไพรในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านทาป่าเปา  ของชุมชน สาเหตุเพราะพืชสมุนไพรบางชนิดขึ้นอยู่ใน

              เพื่อเป็นวัตถุดิบท�ายาสมุนไพรมี 7 สูตร จ�าแนกพืช  พื้นที่ป่าลึก ซึ่งอยู่นอกขอบเขตการส�ารวจวางแปลง และ
              สมุนไพรได้ 26 ชนิดพันธุ์ เป็นไม้ยืนต้น 11 ชนิด ไม้ล้มลุก   ไม่สามารถพบได้ในฤดูกาลที่ท�าการส�ารวจ รวมทั้งวัตถุดิบ
              7 ชนิด ไม้เถาเลื้อย 6 ชนิด และไม้พุ่ม 2 ชนิด ปริมาณ  บางชนิดน�าเข้ามาจากต่างถิ่น และถ้าเปรียบเทียบใน
              การใช้ประโยชน์น้าหนักแห้งรวม 252.81 กิโลกรัมต่อ  ด้านปริมาณของพืชสมุนไพรที่ต้องการใช้ประโยชน์กับ
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190