Page 180 -
P. 180
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
176
(Frequency = F) ดัชนีความส�าคัญ (IVI) และดัชนีความ ความต้องการของชุมชน (Demand หรือ D) แสดงสูตร
หลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species diversity) ด้วยสูตร การค�านวณดังนี้
ของ Shannon-Wiener’s index (Magurran, 1988)
4. วิเคราะห์ปริมาณการพึ่งพิงพืชสมุนไพร Potential (P) = Supply (S) - Demand (D)
ของชุมชนเป็นรายชนิด โดยการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ 6. วิเคราะห์การกระจายของผลผลิตพืช
จากการใช้แบบสัมภาษณ์ในรูปแบบการสัมภาษณ์เชิง สมุนไพร ในรูปของครรลองการตลาด (marketing
ลึก (deep interview) จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก (key channel) ตั้งแต่แหล่งผลิตไปจนถึงแหล่งผู้บริโภค โดย
informant group) ที่แสดงปริมาณการใช้ประโยชน์พืช อาศัยการแจกแจงในรูปของปริมาณและมูลค่าของการ
สมุนไพร โดยเรียงล�าดับจากปริมาณมากไปน้อย
5. วิเคราะห์ศักยภาพแหล่งผลิตพืชสมุนไพร กระจายของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดที่ผลิตพืชสมุนไพร
ในพื้นที่ป่าชุมชนรายชนิด โดยการวิเคราะห์ (ขวัญ ผลและวิจารณ์
ชัย, 2547) ศักยภาพแหล่งผลิตพืชสมุนไพรในพื้นที่
ป่าชุมชน (Potential หรือ P) หมายถึง ความสามารถ โครงสร้างและลักษณะทางนิเวศของป่าชุมชนที่
ในการให้ผลผลิต (Supply หรือ S) เมื่อเปรียบเทียบกับ ระดับความสมบูรณ์ดี
Figure 1 Profile and crown cover tree of Tapapao Community Forest, Thapladuk Sub-district,
Mae Tha District, Lamphun Province.
การศึกษาสังคมพืชป่าชุมชนบ้านทาป่าเปา สืบพันธุ์ของหมู่ไม้และการทดแทนตามธรรมชาติเป็น
พบว่า ป่าชุมชนบ้านทาป่าเปาเป็นป่าผสมผลัดใบ มี อย่างดี แสดงดัง Figure 1 จ�านวนชนิดพันธุ์ไม้ยืนต้นมี
โครงสร้างของชั้นเรือนยอดตามระดับความสูงของ 49 ชนิด ความหนาแน่น 201 ต้นต่อไร่ ความเด่น 4.12
ไม้ยืนต้นจ�านวน 3 ชั้น ที่ระดับความสูงประมาณ 13 ตารางเมตรต่อไร่ และความหลากหลายทางชีวภาพด้วย
20 และ 29 เมตร ซึ่งแสดงให้เป็นว่าป่าแห่งนี้มีการ Shannon-Wiener’s index 4.72 ชนิดไม้เด่น 10 อันดับแรก