Page 189 -
P. 189
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
185
ค�าน�า ค่าความร้อนมากผิดจากปกติบนผิวโลก (hotspot) จาก
ดาวเทียม Aqua และ Terra พบว่าส่วนใหญ่เกิดขึ้นใน
แนวความคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน (sustainable พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ และพื้นที่ป่า
development) ที่ได้รับการผลักดันอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ อนุรักษ์ ตามล�าดับ ซึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตรวจพบ
ปี พ.ศ. 2515 และเป็นที่ยอมรับอย่างสากล โดยคณะ มากรองมาจากภาคเหนือ แบ่งเป็นในพื้นที่เกษตรกรรม
กรรมาธิการโลกว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (World ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าอนุรักษ์ จ�านวน 3,965 1,692
Commission on Environment and Development) ได้ให้ และ 361 จุดตามล�าดับ โดยในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี
ความหมายของ การพัฒนาอย่างยั่งยืน ว่าหมายถึง “การ พบจ�านวน 179 165 และ 13 จุดตามล�าดับ จะเห็นได้ว่า
พัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของคนยุคปัจจุบัน โดย ค่าความร้อนมากผิดจากปกติบนผิวโลก (hotspot) ที่
ไม่ท�าให้คนรุ่นอนาคตต้องประนีประนอม เพื่อลดขีด ตรวจพบในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี เกือบทั้งหมดเกิด
ความสามารถที่จะสนองความต้องการของเขาลงไป” ในพื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่ง
ซึ่งแนวความคิดนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อการยกร่าง มีสาเหตุของการเกิดไฟป่าจากการกระท�าของมนุษย์
บทบัญญัติทางด้านสิ่งแวดล้อมของรัฐธรรมนูญแห่ง ทั้งสิ้น (กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, 2554)
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ซึ่งได้ก�าหนดให้ ภารกิจการควบคุมไฟป่า เป็นหนึ่งในภารกิจ
มีการกระจายอ�านาจรัฐให้กับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ด้านการบริหารจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และปรับลดบทบาทของรัฐ สนับสนุนให้ชุมชน องค์กร สิ่งแวดล้อม ที่องค์การบริหารส่วนต�าบลต้องปฏิบัติตาม
ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม และได้รับ แผนปฏิบัติการก�าหนดขั้นตอนการกระจายอ�านาจให้
ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติตามความต้องการของ แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2545 (ฉบับที่ 1)
ประชาชนอย่างแท้จริงและยั่งยืน เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันพบว่า ผลการด�าเนินการถ่ายโอนภารกิจดังกล่าว
และตามพระราชบัญญัติสภาต�าบลและองค์การบริหาร ยังคงไม่แล้วเสร็จ และโดยข้อเท็จจริงแล้ว องค์กรปกครอง
ส่วนต�าบล พ.ศ. 2537 มาตรา 67 และมาตรา 68 ได้ก�าหนด ส่วนท้องถิ่นโดยเฉพาะองค์การบริหารส่วนต�าบล เป็น
หน่วยงานในพื้นที่ใกล้ป่า ซึ่งต้องรับมอบงานควบคุม
อ�านาจหน้าที่ให้องค์การบริหารส่วนต�าบลต้องบ�ารุง ไฟป่าไปดูแลนั้น ยังไม่มีบุคลากรที่มีความรู้เรื่องไฟป่า
รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (หมายความ และขาดความสนใจด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
รวมถึง ทรัพยากรดิน ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน�้า (กรมป่าไม้, 2544) ทั้งนี้ ภารกิจการควบคุมไฟป่าเป็น
ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรทางการประมง ทรัพยากร งานที่จะต้องอาศัยความรู้ความสามารถเฉพาะด้านและ
บรรยากาศ เป็นต้น) ประสบการณ์ ดังนั้น การศึกษาความพร้อมของสมาชิก
ปัจจุบันพื้นที่ป่าไม้ของประเทศไทยลดลง องค์การบริหารส่วนต�าบลในการควบคุมไฟป่า จังหวัด
อย่างรวดเร็วจากความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ อุดรธานี ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทาง
เพิ่มตามจ�านวนประชากร การบุกรุกท�าลายป่า การเผาเพื่อ เศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล
ล่าสัตว์ป่า และการเผาเพื่อเตรียมพื้นที่เกษตรกรรมเป็น จังหวัดอุดรธานี และระดับความพร้อมและปัจจัยที่มีผล
สาเหตุส�าคัญที่ท�าให้เกิดไฟป่า โดยเฉพาะพื้นที่ภาค ต่อความพร้อมของสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล
ตะวันออกเฉียงเหนือ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ในการควบคุมไฟป่า จังหวัดอุดรธานี ซึ่งเป็นผู้น�าและ
เกษตรกร ในปี พ.ศ. 2554 มีการปฏิบัติงานดับไฟป่าในจังหวัด เป็นตัวแทนของประชาชนในท้องถิ่นในการรองรับการ
อุดรธานีจ�านวนทั้งสิ้น 136 ครั้ง คิดเป็นพื้นที่ป่าถูกไฟไหม้ กระจายอ�านาจในการควบคุมไฟป่า อันจะเป็นแนวทาง
1,192 ไร่ และจากการตรวจติดตามจุดหรือบริเวณที่มี ให้หน่วยงานของรัฐน�าไปใช้ในการวางแผน ก�าหนด