Page 191 -
P. 191

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                               187



                     ส่วนที่ 4  ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ  จังหวัดอุดรธานี และทดสอบสมมติฐานโดยใช้วิธีการ
              ภารกิจการควบคุมไฟป่าของสมาชิกองค์การบริหาร   วิเคราะห์ทางสถิติ t-test ใช้ทดสอบความแตกต่างของ
              ส่วนต�าบล                                    ค่าเฉลี่ยตัวแปรที่ศึกษาของประชากร 2 กลุ่มที่เป็นอิสระ
                                                           ต่อกัน และใช้วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติ F-test ในการ
              การเก็บรวบรวมข้อมูล                          วิเคราะห์ความแปรปรวนของตัวแปรอิสระที่แบ่งออก
                     น�าแบบสอบถามไปสัมภาษณ์สมาชิกองค์การ   เป็น 3 กลุ่มขึ้นไป และท�าการเปรียบเทียบความแตกต่าง

              บริหารส่วนต�าบลกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี   เป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Scheffé โดยก�าหนดนัยส�าคัญทาง
              โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (stratified random   สถิติที่ระดับ 0.05
              sampling) จ�านวน 347 ชุด ตามที่ได้ก�าหนดไว้


              การประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล                   ผลและวิจารณ์
                     จากค�าถามในส่วนที่ 3 เกี่ยวกับความพร้อม  ข้อมูลลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิก
              ของสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบลในการควบคุม   องค์การบริหารส่วนต�าบลตัวอย่าง จังหวัดอุดรธานี

              ไฟป่า ในแต่ละข้อมีค�าตอบให้เลือกตอบ 5 ระดับ โดยมีเกณฑ์     ผลการศึกษาพบว่า สมาชิกองค์การบริหาร
              การให้คะแนนตามแบบของ Likert’s scale (พวงรัตน์,   ส่วนต�าบลตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ
              2540) ดังนี้ มีความพร้อมมากที่สุด (5 คะแนน) มีความ  72.6 และมีอายุอยู่ในช่วง 41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.6
              พร้อมมาก (4 คะแนน) มีความพร้อมปานกลาง (3 คะแนน)
              มีความพร้อมน้อย (2 คะแนน) และมีความพร้อมน้อย  รองลงมาอยู่ในช่วง 31-40 ปี ร้อยละ 31.7 โดยมีอายุ
              ที่สุด (1 คะแนน) แล้วท�าการจัดแบ่งอันตรภาคชั้นออกเป็น   มากที่สุด 69 ปี อายุน้อยที่สุด 21 ปี และมีอายุเฉลี่ย 41 ปี
              5 ชั้น ดังนี้ 1.00-1.80 , 1.81-2.60 , 2.61-3.40 , 3.41-4.20   ส่วนใหญ่มีภูมิล�าเนาเดิมในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี คิดเป็น
              และ 4.21-5.00 หมายถึง ระดับความพร้อมของสมาชิก  ร้อยละ 87.6  มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี คิดเป็น
              องค์การบริหารส่วนต�าบลในการควบคุมไฟป่า จังหวัด  ร้อยละ 26.5 รองลงมาเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

              อุดรธานี อยู่ในระดับน้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก   หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) คิดเป็นร้อยละ 23.9
              และ มากที่สุด ตามล�าดับ                      และมีสถานภาพสมรสและอยู่ด้วยกัน คิดเป็นร้อยละ
                                                           66.9 รองลงมาคือสถานภาพโสด ร้อยละ 25.9 โดยส่วน

              การวิเคราะห์ข้อมูล                           ใหญ่มีอาชีพหลักเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
                     การวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ แบ่ง  คิดเป็นร้อยละ 39.8 และมีการประกอบอาชีพรอง ร้อยละ
              ได้ 2 รูปแบบ คือ 1) การวิเคราะห์เชิงพรรณนา เป็นการ  66.3 โดยส่วนใหญ่เป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วน
              วิเคราะห์ข้อมูลในเชิงปริมาณในส่วนข้อมูลพื้นฐานทาง  ต�าบลเป็นอาชีพรองนั่นเอง มีรายได้เฉลี่ย 10,001-20,000

              ด้านเศรษฐกิจและสังคมของกลุ่มประชากรตัวอย่าง ความ  บาทต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ 51.3 รายได้ต่อเดือนสูงสุด
              รู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมไฟป่า ความพร้อมใน  67,200 บาท และรายได้ต่อเดือนต�่าสุด 7,200 บาท และมี
              การควบคุมไฟป่า โดยน�าเสนอในรูปค่าสถิติอย่างง่าย   รายได้เฉลี่ยต่อเดือน เท่ากับ 19,055 บาท และส่วนใหญ่
              เช่น การแจกแจงความถี่ ค่าสูงสุด ค่าต�่าสุด และค่าเฉลี่ย   มีรายจ่ายเฉลี่ย 5,001-10,000 บาทต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ
              2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ เป็นการหาความสัมพันธ์  40.6 รายจ่ายต่อเดือนสูงสุด 49,000 บาท และรายจ่าย
              ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม คือ ความพร้อม  ต่อเดือนต�่าสุด 1,000 บาท และมีรายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือน
              ของสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบลในการควบคุมไฟป่า   เท่ากับ 13,080 บาท
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196