Page 197 -
P. 197
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
193
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภารกิจ 82.7) และร้อยละ 54.8 ได้มีการบรรจุวาระเกี่ยวกับ
การควบคุมไฟป่าของสมาชิกองค์การบริหาร ภารกิจการควบคุมไฟป่าในการประชุมสมาชิกองค์การ
ส่วนต�าบล บริหารส่วนต�าบล และส่วนใหญ่สมาชิกองค์การบริหาร
ส่วนใหญ่เห็นว่าปัญหาส�าคัญในการรับถ่าย ส่วนต�าบลตัวอย่างมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับไฟป่า
โอนภารกิจด้านการควบคุมไฟป่ามาปฏิบัติ คือ การ และการควบคุมไฟป่าในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 61.4
ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเพียงพอใน ระดับความพร้อมของสมาชิกองค์การบริหาร
การปฏิบัติภารกิจการควบคุมไฟป่า (ร้อยละ 35.2) การ ส่วนต�าบลในการควบคุมไฟป่า จังหวัดอุดรธานี มีค่าเฉลี่ย
ขาดแคลนอุปกรณ์และเครื่องมือในการปฏิบัติการควบคุม ความพร้อม เท่ากับ 2.42 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับน้อย
ไฟป่า (ร้อยละ 19.3) และปัญหาด้านงบประมาณที่ไม่ และเมื่อแยกออกเป็นรายด้าน พบว่า ความพร้อมด้าน
เพียงพอ (ร้อยละ 9.5) โดยมีข้อเสนอแนะคือต้องการ การป้องกันไฟป่าอยู่ในระดับน้อย มีค่าเฉลี่ยความพร้อม
ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดอบรมให้ความรู้และฝึก เท่ากับ 2.40 คะแนน และความพร้อมในด้านการปฏิบัติ
ทักษะในการปฏิบัติงานควบคุมไฟป่าให้แก่บุคลากรของ การดับไฟป่าอยู่ในระดับน้อย มีค่าเฉลี่ยความพร้อม
องค์การบริหารส่วนต�าบล (ร้อยละ 20.4) และต้องการ เท่ากับ 2.39 คะแนน
การสนับสนุนงบประมาณจากส่วนกลาง (ร้อยละ 15.9) ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมของสมาชิกองค์การ
บริหารส่วนต�าบลในการควบคุมไฟป่า จังหวัดอุดรธานี ได้แก่
สรุป เพศ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส อาชีพหลัก อาชีพ
รอง ลักษณะการเข้าเป็นสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล
ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิก ระยะเวลาในการครองต�าแหน่ง การได้รับสวัสดิการใน
องค์การบริหารส่วนต�าบลที่มีพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติอยู่ การปฏิบัติงานควบคุมไฟป่า การได้รับการฝึกอบรมด้าน
ในความรับผิดชอบ ในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี สรุปได้ว่า การควบคุมไฟป่า การติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่
สมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบลตัวอย่างส่วนใหญ่เป็น ป่าไม้ ระยะห่างระหว่างองค์การบริหารส่วนต�าบลที่
เพศชาย (ร้อยละ 72.6) มีอายุเฉลี่ย 41 ปี ภูมิล�าเนาเดิม ท�างานอยู่กับพื้นที่ป่า การมีวาระเกี่ยวกับภารกิจการ
เป็นชาวอุดรธานี (ร้อยละ 88.5) สถานภาพสมรสแล้ว ควบคุมไฟป่าในการประชุม และความรู้ความเข้าใจ
(ร้อยละ 66.9) มีการศึกษาระดับปริญญาตรี (26.8) มี เกี่ยวกับการควบคุมไฟป่า
อาชีพหลักเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภารกิจ
(ร้อยละ 39.8) และร้อยละ 66.3 มีอาชีพรอง มีรายได้เฉลี่ย การควบคุมไฟป่าของสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล
19,055 บาทต่อเดือน และมีรายจ่ายเฉลี่ย 13,080 บาทต่อ ส่วนใหญ่เห็นว่าปัญหาส�าคัญ คือ องค์การบริหารส่วนต�าบล
เดือน องค์การบริหารส่วนต�าบลและที่อยู่อาศัยตั้งห่าง ยังขาดแคลนบุคลากรที่สามารถปฏิบัติงานควบคุมไฟป่า
จากพื้นที่ป่ามีระยะทางเฉลี่ย 7.25 และ 7.01 กิโลเมตร ได้จริง จึงเห็นว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้ามาอบรม
ตามล�าดับ ส่วนใหญ่มีต�าแหน่งเป็นสมาชิกสภาองค์การ ให้ความรู้ ฝึกทักษะให้แก่บุคลากรขององค์การบริหาร
บริหารส่วนต�าบล (ร้อยละ 46.4) และมาจากการได้รับ ส่วนต�าบล และควรมีการสนับสนุนงบประมาณจาก
เลือกตั้ง (ร้อยละ 59.4) มีระยะเวลาการครองต�าแหน่ง ส่วนกลาง
ปัจจุบันเฉลี่ย 3.42 ปี โดยส่วนใหญ่ไม่ได้รับสวัสดิการ จากการศึกษาพบว่า สมาชิกองค์การบริหาร
ในการปฏิบัติงานควบคุมไฟป่า (ร้อยละ 90.2) ไม่ได้รับ ส่วนต�าบลจังหวัดอุดรธานียังมีความพร้อมในการควบคุม
การฝึกอบรมด้านการควบคุมไฟป่า (ร้อยละ 84.7) และ ไฟป่าในระดับน้อย ดังนั้นภายหลังการถ่ายโอนภารกิจ
ไม่มีการติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ (ร้อยละ การควบคุมไฟป่าให้แก่องค์การบริหารส่วนต�าบลแล้ว