Page 198 -
P. 198
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
194
เจ้าหน้าที่ป่าไม้และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรให้ เอกสารและสิ่งอ้างอิง
ความส�าคัญกับปัจจัยที่มีผลความพร้อมในการควบคุม
ไฟป่าที่ได้จากการศึกษานี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยด้าน กรมป่าไม้. 2544. สัมมนาการควบคุมไฟป่า ประจ�าปี
การได้รับสวัสดิการในการปฏิบัติงานควบคุมไฟป่า การ 2544. ส�านักควบคุมไฟป่า กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
ได้รับการฝึกอบรมด้านการควบคุมไฟป่า และการติดต่อ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 2554. รายงาน
ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ โดยการหมั่นเข้าไป ประจ�าปี 2554. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมการควบคุมไฟป่าอย่างต่อเนื่อง และสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ.
สนับสนุนให้สมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบลมีส่วน พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2540. วิธีการวิจัยทางพฤติกรรม
ร่วมในการปฏิบัติงานป้องกันไฟป่ามากยิ่งขึ้น เช่น จัด ศาสตร์และสังคมศาสตร์. ส�านักทดสอบ
กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ด้านการป้องกันไฟป่า ทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัย
ร่วมกับชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือ กิจกรรม ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, กรุงเทพฯ.
การจัดการเชื้อเพลิง เช่น สร้างแนวกันไฟระหว่างป่ากับ ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538. เทคนิคการ
พื้นที่เกษตรกรรม เพิ่มความถี่ในการติดต่อประสานงาน วิจัยทางการศึกษา. ส�านักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริม
กับสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล และผลักดันให้ วิชาการ, กรุงเทพฯ.
มีการบรรจุภารกิจการควบคุมไฟป่าลงในแผนพัฒนา สุบงกช จามีกร. 2526. สถิติวิเคราะห์ส�าหรับงานวิจัยทาง
ต�าบล ทั้งนี้ภาครัฐควรสนับสนุนให้มีการจัดการปัญหา สังคมศาสตร์. ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์
ไฟป่าอย่างมีส่วนร่วมของประชาชน องค์กรภาคเอกชน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
และองค์กรภาครัฐ โดยเฉพาะชุมชนในท้องถิ่นควรได้ Yamane, T. 1973. Statistics; An Introductory
rd
มีส่วนร่วมในการควบคุมไฟป่าเพื่อรักษาทรัพยากรป่า Analysis. 3 ed., Harper International
ไม้ของชุมชนเอง Edition., Tokyo.