Page 96 -
P. 96

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                  94                         Thai J. For. 31 (3) : 92-101 (2013)



                  ได้อีกด้วย  การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกอุทยานแห่งชาติ  คือ  1)  ร่องรอยการกร่อนของดิน  2)  ปริมาณรากไม้

                  แก่งกระจานเป็นพื้นที่ศึกษา เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีความ  โผล่พ้นดิน  3)  ร่องรอยความเสียหายของล�าต้นไม้ใหญ่
                  หลากหลายทางชีวภาพสูงทั้งทรัพยากรพันธุ์พืชและ  4)  ร่องรอยการหักเด็ดกิ่งไม้ใบไม้  5)  ปริมาณพืชคลุม
                  สัตว์ป่า  ประกอบกับมีพื้นที่ที่มีความโดดเด่นทั้งในด้าน  ดิน  6)  ปริมาณขยะ  7)  ร่องรอยการเดินออกนอกเส้น
                  ของภูมิทัศน์และด้านของศักยภาพของทรัพยากรเพื่อ  ทาง  8)  ความขุ่นของน�้า  และ  9)  ของแข็งแขวนลอย

                  นันทนาการและการท่องเที่ยว  ผลการศึกษาที่ได้คาดว่า  ในน�้า  ท�าการเก็บข้อมูลบริเวณแหล่งนันทนาการทาง
                  จะสามารถเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเพื่อเลือก  ธรรมชาติภายในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานที่มีการใช้
                  แนวทางการจัดการพื้นที่ทั้งในส่วนของผู้ใช้ประโยชน์  ประโยชน์เข้มข้น  คือ  บ้านกร่างแคมป์  เขาพะเนินทุ่ง
                  ให้มีประสบการณ์นันทนาการที่มีคุณภาพ    และยัง  และน�้าตกป่าละอู  ท�าการเก็บข้อมูลในเดือนธันวาคม
                  สามารถรักษาคุณภาพของทรัพยากรได้อย่างยั่งยืน    พ.ศ.  2553 - มีนาคม  พ.ศ.  2554  (ฤดูแล้ง)  และเดือน
                         ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา    กรกฎาคม  พ.ศ.  2554 - กันยายน  พ.ศ.  2554  (ฤดูฝน)

                  3  ข้อ  คือ  1)  เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบทางนันทนาการ  โดยมีรายละเอียดในการศึกษาแต่ละตัวชี้วัดดังนี้
                  ด้านชีวกายภาพบางประการในอุทยานแห่งชาติแก่ง          ร่องรอยการกร่อนของดิน  เป็นการวัดการ
                  กระจาน 2) เพื่อศึกษาการรับรู้ของผู้มาเยือนต่อผลกระทบ  สูญเสียดินแบบร่องลึก  โดยการวัดขนาดความกว้าง
                  ทางนันทนาการด้านชีวกายภาพบางประการในอุทยาน   ความยาว  และความลึกของร่องรอยที่พบบนเส้นทาง
                  แห่งชาติแก่งกระจาน 3) เพื่อก�าหนดระดับการเปลี่ยนแปลง  แล้วน�ามาค�านวณหาปริมาตรของดินที่สูญเสียไป

                  ที่ยอมรับได้ของผลกระทบทางนันทนาการด้านชีวกายภาพ  (นภวรรณ  และคณะ,  2552)
                  บางประการในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน                 ปริมาณรากไม้โผล่พ้นดินและปริมาณพืช
                                                               คลุมดิน  ใช้วิธีการนับการปกคลุมของรากไม้โผล่พ้น
                            อุปกรณ์และวิธีการ                  ผิวดินหรือพืชคลุมดิน  จากการวางแปลงตัวอย่างขนาด
                                                               1  x  1  ตารางเมตร  โดยใช้เครื่องมือซึ่งมีลักษณะเป็น
                         การศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้อุปกรณ์ในการด�าเนินการ    แผ่นประกอบด้วยช่องกริด 2.5 x 2.5 ตารางเซนติเมตร

                  3 ส่วน คือ 1) อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลผลกระทบ  ขนาด 50 x 50 ตารางเซนติเมตร นับจ�านวนช่องกริดที่
                  ทางนันทนาการ  ได้แก่  เทปวัดระยะ  เชือกวัดระยะ    มีรากไม้โผล่หรือพืชคลุมดินเกินพื้นที่ครึ่งหนึ่งของช่อง
                  ขนาด  30  เมตร  หมุดเหล็ก  ตะแกรงลวด  ขนาด  2.5  x    และมีเงื่อนไขในการเลือกแปลงตัวอย่างคือ  ท�าการวาง
                  2.5  ตารางเซนติเมตร  ขวดพลาสติกขนาด  500  และ    แปลงตัวอย่างบริเวณ  บนเส้นทางเดิน  ริมเส้นทางเดิน
                  1,000  มิลลิลิตร  หลอดแก้วขนาด  15  มิลลิลิตร  กล้อง  และพื้นที่ธรรมชาติ  โดยมีหลักในการวางแผ่นเครื่องมือ

                  ถ่ายภาพ  ตารางบันทึกข้อมูล  2)  อุปกรณ์ในการเก็บ  ให้ขอบด้านหนึ่งของเครื่องมือขนานชิดกับขอบเส้นทาง
                  ข้อมูลการรับรู้ของผู้มาเยือน  ได้แก่  แบบสอบถาม  และ  เมื่อนับพื้นที่รากไม้เสร็จ  1  แผ่น  ใช้วิธีการพลิกแผ่น
                  อุปกรณ์เครื่องเขียน  และ  3)  อุปกรณ์ในการวิเคราะห์  เครื่องมือไปเรื่อยๆ  จนกระทั่งครบ  1  x  1  ตารางเมตร
                  ข้อมูล  ได้แก่  คอมพิวเตอร์  และโปรแกรมส�าเร็จรูป  (4  ครั้ง)
                  ทางสถิติ  ในการศึกษาครั้งนี้มีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล     ร่องรอยความเสียหายของล�าต้นไม้ใหญ่  และ
                  และวิเคราะห์ข้อมูลโดยสรุปได้ดังนี้           ร่องรอยการหักเด็ดกิ่งไม้ ใบไม้ ท�าการตรวจนับร่องรอย

                         1. การเก็บข้อมูลผลกระทบทางนันทนาการ   ที่พบเห็นตลอดเส้นทางเดิน  และบริเวณพื้นที่ประกอบ
                  ด้านชีวกายภาพบางประการ เก็บข้อมูลจาก 9 ตัวชี้วัด    กิจกรรมภายในแหล่งนันทนาการ
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101