Page 97 -
P. 97

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                                           วารสารวนศาสตร 31 (3) : 92-101 (2556)                     95
                                                          ์


                         ปริมาณขยะ  ใช้วิธีการตรวจนับจ�านวนขยะ  โดยใช้แบบสอบถาม  ซึ่งแบ่งออกได้เป็น  3  ตอนดังนี้

                  ที่พบเห็นตลอดเส้นทางเดิน  และบริเวณพื้นที่ประกอบ  1)  ลักษณะทั่วไปเกี่ยวกับการมาเยือนและการประกอบ
                  กิจกรรมภายในแหล่งนันทนาการ                   กิจกรรมนันทนาการของผู้มาเยือน 2) การรับรู้ผลกระทบ
                         ร่องรอยการเดินออกนอกเส้นทาง  ใช้วิธีการ  ทางนันทนาการด้านชีวกายภาพบางประการบริเวณ

                  ตรวจนับจ�านวนเส้นทางที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากเส้น  แหล่งประกอบกิจกรรมนันทนาการ  3)  ภูมิหลังของ
                  ทางเดินหลักที่ทางอุทยานแห่งชาติจัดท�าในบริเวณ  ผู้มาเยือน  ก�าหนดขนาดตัวอย่างจากข้อมูลสถิตินัก
                  พื้นที่ประกอบกิจกรรมภายในแหล่งนันทนาการ      ท่องเที่ยวที่ไปเยือนอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน  โดยใช้
                         ความขุ่นของน�้า  ใช้เครื่องมือ  Turbidimeter    สูตรของ  Yamane  (Yamane,  1973)  ในการหาขนาด
                  วัดค่าความขุ่นของน�้า  บริเวณน�้าตกป่าละอู  ชั้น  1 - 5    ตัวอย่าง  ได้ขนาดตัวอย่างทั้งสิ้น  398  ตัวอย่าง  ในการ

                  ท�าการเก็บตัวอย่างชั้นละ  3  ตัวอย่าง  ใส่หลอดแก้ว  กระจายตัวอย่างผู้วิจัยท�าการแจกแบบสอบถามให้แก่
                  ขนาด  15  มิลลิลิตร  จ�านวน  3  หลอด  เพื่อท�าการวัด  ผู้มาเยือนชาวไทยทุกกลุ่มที่มาเยือนพื้นที่ในช่วงเวลา
                  ค่าความขุ่นของน�้าเฉลี่ยในแต่ละตัวอย่างน�้า  (นภวรรณ    ของการเก็บข้อมูล  กลุ่มละ  1  คน  จนกระทั่งครบตาม

                  และคณะ,  2552)                               ขนาดตัวอย่างที่ก�าหนด  จากนั้นน�าข้อมูลมาวิเคราะห์
                         ของแข็งแขวนลอยในน�้า น�าตัวอย่างน�้าบริเวณ  โดยใช้สถิติอย่างง่าย  หาค่าความถี่  ค่าร้อยละ  ค่าเฉลี่ย
                  น�้าตกป่าละอู  ชั้นที่  1 - 5  มาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติ  และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  เพื่ออธิบายลักษณะการ
                  การโดยน�ากระดาษกรองอย่างละเอียดขนาดเส้นผ่าน  รับรู้ผลกระทบทางนันทนาการของผู้มาเยือน

                  ศูนย์กลาง  11  เซนติเมตร  มาอบแห้งที่อุณหภูมิ  80    3.  การก�าหนดระดับการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับ
                  องศาเซลเซียส  เป็นเวลา  3  ชั่วโมง  แล้วน�ามาชั่งหา  ได้ของผลกระทบทางนันทนาการด้านชีวกายภาพบาง
                  น�้าหนักแห้ง จากนั้นตวงน�้าตัวอย่างปริมาตร 100 มิลลิลิตร    ประการ
                  แล้วรินน�้าตัวอย่างผ่านกระดาษกรอง  รอจนน�้าซึมผ่าน     ผู้วิจัยก�าหนดขึ้นโดยอ้างอิงจากนภวรรณ

                  กระดาษกรองจนหมดน�ากระดาษกรองดังกล่าวไปอบแห้ง  และคณะ  (2552)  ประกอบกับการพิจารณาค่าเฉลี่ยของ
                  ที่อุณหภูมิ  80  องศาเซลเซียส  เป็นเวลา  3  ชั่วโมง    ค่าสังเกตในแต่ละตัวชี้วัดผลกระทบทางนันทนาการ
                  จากนั้นน�ามาชั่งหาน�้าหนักแห้ง  เพื่อค�านวณหาค่าของ  ด้านชีวกายภาพที่ได้จากการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่
                  แข็งแขวนลอย  (นภวรรณ  และคณะ,  2552)         เพื่อให้เกณฑ์ของระดับการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได้

                         วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตัวชี้วัด โดยใช้โปรแกรม  เหมาะสมกับพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน  และ
                  ส�าเร็จรูปทางสถิติโดยใช้สถิติ t-test เปรียบเทียบปริมาณ  พิจารณาจากค่ามาตรฐานที่ก�าหนดโดยหน่วยงานที่
                  ผลกระทบทางนันทนาการในช่วงฤดูแล้งและฤดูฝน     เกี่ยวข้องในส่วนของตัวชี้วัดคุณภาพน�้า และน�าค่าเฉลี่ย
                  และใช้วิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวน  (Analysis  of    คะแนนการรับรู้ของผู้มาเยือนต่อผลกระทบทางนันทนาการ

                  Variance) เปรียบเทียบปริมาณผลกระทบทางนันทนาการ  ด้านชีวกายภาพมาพิจารณาประกอบร่วมกับเกณฑ์ของ
                  ในพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ต่างกัน  คือ  บริเวณพื้นที่  ผลกระทบทางนันทนาการ  ท�าการก�าหนดระดับการ
                  ธรรมชาติ  ริมเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ  และบน  เปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได้ของผลกระทบทางนันทนาการ
                  เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ                     ด้านชีวกายภาพ  จากนั้นน�าค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่ได้จาก

                         2.  การศึกษาการรับรู้ของผู้มาเยือนต่อผล  การจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่    มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่
                  กระทบทางนันทนาการด้านชีวกายภาพบางประการ      ก�าหนดขึ้น
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102