Page 100 -
P. 100
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
98 Thai J. For. 31 (3) : 92-101 (2013)
เยือนคือ ร้อยละ 51.10 และ 48.90 โดยผู้มาเยือนที่ ท�าลายเฉลี่ย 1.91 มีขยะ/สิ่งปฏิกูลกลาดเกลื่อนในบริเวณ
เคยมาเยือนแล้ว ส่วนใหญ่เคยมาเยือนไม่เกิน 3 ครั้ง แหล่งนันทนาการเฉลี่ย 1.15 ในบริเวณแหล่งนันทนาการ
คิดเป็นร้อยละ 80.8 รองลงมา เคยมาเยือน 4 - 6 ครั้ง พบเห็นร่องรอยการเดินออกนอกเส้นทางที่อุทยานแห่ง
คิดเป็นร้อยละ 11.30 โดยมีจ�านวนครั้งที่เคยมาเยือน ชาติก�าหนดเฉลี่ย 1.19 น�้าบริเวณน�้าตกมีสภาพขุ่น
เฉลี่ยประมาณ 3 ครั้ง ผู้มาเยือนส่วนใหญ่นิยมเดินทาง ไม่ใสสะอาดเฉลี่ย 1.97 และมีสารแขวนลอยหรือ
มากับเพื่อนมากที่สุดถึงร้อยละ 48.7 รองลงมาเป็นกลุ่ม ของแข็งที่ไม่ละลายในน�้าบริเวณน�้าตกเฉลี่ย 1.59 เมื่อ
ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 35.00 โดยมีจ�านวนสมาชิก พิจารณาจากการแปรผลระดับการรับรู้ผลกระทบทาง
ในกลุ่ม 1 - 5 คน คิดเป็นร้อยละ 46.8 รองลงมาเป็น นันทนาการในแต่ละประเด็น พบว่า ผู้มาเยือนส่วนใหญ่
กลุ่ม 6 - 10 คน และมีจ�านวนสมาชิกในกลุ่มเฉลี่ย รับรู้ว่าแหล่งนันทนาการเกิดผลกระทบปานกลางในบาง
ประมาณ 10 คน ใช้รถยนต์ส่วนตัวเป็นพาหนะในการ ประเด็น ได้แก่ เกิดรากไม้โผล่พ้นดินบริเวณแหล่ง
เดินทางมาเยือนมากที่สุดถึงร้อยละ 73.90 รองลงมา นันทนาการ เกิดความเสียหายของล�าต้นไม้ใหญ่ พืช
เดินทางมาโดยรถเช่าหรือรถจ้างเหมา คิดเป็นร้อยละ คลุมดินในบริเวณแหล่งนันทนาการถูกเหยียบย�่าท�าลาย
18.70 ผู้มาเยือนมีการพักค้างคืนในพื้นที่มากถึงร้อยละ และน�้าบริเวณน�้าตกมีสภาพขุ่น ไม่ใสสะอาด ผู้มาเยือน
62.40 โดยส่วนใหญ่พักค้าง 1 คืน คิดเป็นร้อยละ ส่วนใหญ่รับรู้ว่าแหล่งนันทนาการเกิดผลกระทบน้อย
65.00 และมีจ�านวนคืนที่พักค้างเฉลี่ยเท่ากับ 1.44 คืน ในบางประเด็น ได้แก่ เกิดร่องรอยการชะล้างพังทลาย
ขณะที่ผู้มาเยือนที่ไม่มีการพักค้างคืน จะใช้เวลาในการ ของดินบนเส้นทางเดินเท้าหรือเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
ประกอบกิจกรรมในพื้นที่ประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง คิดเป็น บริเวณแหล่งนันทนาการปรากฏร่องรอยการหักเด็ด
ร้อยละ 51.60 โดยมีระยะเวลาที่ใช้ประโยชน์ในพื้นที่ กิ่งไม้ ใบไม้ มีขยะ/สิ่งปฏิกูลกลาดเกลื่อนในบริเวณ
เฉลี่ยประมาณ 3 ชั่วโมง เมื่อพิจารณาเกี่ยวกับรูปแบบ แหล่งนันทนาการ ในบริเวณแหล่งนันทนาการพบเห็น
กิจกรรมนันทนาการที่ผู้มาเยือนได้ประกอบในพื้นที่ ร่องรอยการเดินออกนอกเส้นทางที่อุทยานแห่งชาติ
โดยผู้มาเยือนสามารถเลือกตอบได้ในทุกกิจกรรมที่ ก�าหนด และมีสารแขวนลอยหรือของแข็งที่ไม่ละลาย
ประกอบจริง ผลการศึกษาพบว่า ผู้มาเยือนส่วนใหญ่ ในน�้าบริเวณน�้าตก ทั้งนี้ จากการศึกษาการรับรู้ผล
ประกอบกิจกรรมชมทิวทัศน์มากที่สุดถึงร้อยละ 96.40 กระทบทางนันทนาการโดยภาพรวม พบว่า นักท่องเที่ยว
รองลงมาคือถ่ายภาพและบันทึกภาพ คิดเป็นร้อยละ ส่วนใหญ่รับรู้ว่าแหล่งนันทนาการเกิดผลกระทบทาง
89.4 และพักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ คิดเป็นร้อยละ นันทนาการในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 47.70
70.00 ตามล�าดับ รองลงมารับรู้ว่าเกิดผลกระทบทางนันทนาการในระดับ
การรับรู้ผลกระทบทางนันทนาการด้านชีว- น้อย คิดเป็นร้อยละ 46.30 ซึ่งมีสัดส่วนที่ใกล้เคียง
กายภาพบางประการบริเวณแหล่งประกอบกิจกรรม กันมาก และรับรู้ว่าเกิดผลกระทบทางนันทนาการใน
นันทนาการ พบว่า ผู้มาเยือนรับรู้ว่าเกิดร่องรอยการ ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 6.00 ตามล�าดับ
ชะล้างพังทลายของดินบนเส้นทางเดินเท้าหรือเส้นทาง
ศึกษาธรรมชาติเฉลี่ย 1.69 เกิดรากไม้โผล่พ้นดินบริเวณ การก�าหนดระดับการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับ
แหล่งนันทนาการเฉลี่ย 2.25 เกิดความเสียหายของ ได้ของผลกระทบทางนันทนาการด้านชีว
ล�าต้นไม้ใหญ่เฉลี่ย 2.17 บริเวณแหล่งนันทนาการ กายภาพบางประการ
ปรากฏร่องรอยการการหักเด็ดกิ่งไม้ ใบไม้เฉลี่ย 1.15 จากผลการศึกษาผลกระทบทางนันทนาการ
พืชคลุมดินในบริเวณแหล่งนันทนาการถูกเหยียบย�่า ด้านชีวกายภาพบางประการและการรับรู้ของผู้มาเยือน