Page 98 -
P. 98

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                  96                         Thai J. For. 31 (3) : 92-101 (2013)



                              ผลและวิจารณ์                     การหักเด็ดกิ่งไม้  ใบไม้  ปริมาณขยะ  ร่องรอยการเดิน

                                                               ออกนอกเส้นทาง  ความขุ่นของน�้า  และของแข็งแขวน
                  ผลการวิเคราะห์ผลกระทบทางนันทนาการ            ลอยในน�้า
                  ด้านชีวกายภาพบางประการ                              การเปรียบเทียบความแตกต่างของปริมาณ

                         จากการศึกษา  พบว่า  เกิดร่องรอยการกร่อน  ผลกระทบทางนันทนาการด้านชีวกายภาพบางประการ
                  ของดิน  0.054  ลูกบาศก์เมตร  ปริมาณรากไม้โผล่พ้นดิน    ในพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ต่างกัน 3 ลักษณะ ได้แก่
                  0.121 เปอร์เซ็นต์ต่อพื้นที่ทางเดิน 1 ตารางเมตร ส�าหรับ  พื้นที่ธรรมชาติ  ริมเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ  และ
                  สังคมพืชป่าดิบเขา  ปริมาณรากไม้โผล่พ้นดิน  0.314    บนเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ  โดยตัวชี้วัดผลกระทบ

                  เปอร์เซ็นต์ต่อพื้นที่ทางเดิน 1 ตารางเมตร ส�าหรับสังคม  ทางนันทนาการที่น�ามาใช้ในการวิเคราะห์ทางสถิติ
                  พืชป่าดิบแล้ง  ร่องรอยความเสียหายของล�าต้นไม้ใหญ่    ครั้งนี้มีจ�านวน  2  ตัวได้แก่  ปริมาณพืชคลุมดินและ
                  0.818  รอยต่อความยาวของเส้นทาง  30  เมตร  ร่องรอย  ปริมาณรากไม้โผล่พ้นดิน  ซึ่งได้ท�าการเก็บข้อมูลตัว
                  การหักเด็ดกิ่งไม้  ใบไม้  0.102  รอยต่อความยาวของ  ชี้วัดดังกล่าวจากสังคมพืชตัวแทนของอุทยานแห่ง
                  เส้นทาง 30 เมตร ปริมาณพืชคลุมดิน 8.165 เปอร์เซ็นต์  ชาติแก่งกระจาน  คือ  ป่าดิบเขาและป่าดิบแล้ง  ผลการ
                  ต่อพื้นที่ทางเดิน  1  ตารางเมตร  ส�าหรับสังคมพืชป่า  ศึกษาพบว่า  ในสังคมพืชป่าดิบเขา  ค่าเฉลี่ยของปริมาณ
                  ดิบเขา  ปริมาณพืชคลุมดิน  4.761  เปอร์เซ็นต์ต่อพื้นที่  พืชคลุมดินในพื้นที่ธรรมชาติมีค่าเท่ากับ  14.908  ต่อ
                  ทางเดิน  1  ตารางเมตร  ส�าหรับสังคมพืชป่าดิบแล้ง    ตารางเมตร  ในพื้นที่ริมเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติมี
                  ปริมาณขยะ 0.609 ชิ้นต่อความยาวของเส้นทาง 30 เมตร    ค่าเท่ากับ  9.585  ต่อตารางเมตร  และบนเส้นทางเดิน

                  ร่องรอยการเดินออกนอกเส้นทาง  0.210  เส้นทางต่อ  ศึกษาธรรมชาติมีค่าเท่ากับ 0 ต่อตารางเมตร เมื่อทดสอบ
                  ความยาวของเส้นทาง 30 เมตร ความขุ่นของน�้า 6.815    ความแตกต่าง ด้วยการทดสอบค่า F-test พบว่า ปริมาณ
                  NTU  ของแข็งแขวนลอยในน�้า  4.610  มิลลิกรัมต่อลิตร    พืชคลุมดินแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ  (F =
                  เมื่อท�าการแบ่งเกณฑ์ระดับของผลกระทบทางนันทนาการ    16.310;  P - value = 0.000)  ส่วนค่าเฉลี่ยของปริมาณ
                  พบว่า ตัวชี้วัดที่มีผลกระทบในระดับมากเพียงตัวชี้วัดเดียว    รากไม้โผล่พ้นดิน  ในพื้นที่ธรรมชาติมีค่าเท่ากับ  0
                  คือ ปริมาณพืชคลุมดินในสังคมพืชป่าดิบแล้ง ตัวชี้วัด  ต่อตารางเมตร  ในพื้นที่ริมเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ
                  ที่มีผลกระทบในระดับปานกลาง  ได้แก่  ร่องรอยการ  มีค่าเท่ากับ  0.362  ต่อตารางเมตร  และบนเส้นทางเดิน

                  กร่อนของดิน  ปริมาณรากไม้โผล่พ้นดินในสังคมพืช  ศึกษาธรรมชาติมีค่าเท่ากับ  0  ต่อตารางเมตร  เมื่อน�า
                  ป่าดิบเขาและป่าดิบแล้ง  ปริมาณพืชคลุมดินในสังคม  มาทดสอบค่าความแตกต่าง ด้วยการทดสอบค่า F - test
                  พืชป่าดิบเขา  และตัวชี้วัดที่มีผลกระทบในระดับน้อย    พบว่า ปริมาณพืชคลุมดินแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญ
                  ได้แก่  ร่องรอยความเสียหายของล�าต้นไม้ใหญ่  ร่องรอย  ทางสถิติ  (F = 3.153;  P - value = 0.048)  (Table  1)

                  Table 1  Comparison of vegetation cover and root exposure in hill evergreen forest.
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103