Page 95 -
P. 95
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (3) : 92-101 (2556) 93
์
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบทางนันทนาการ การรับรู้ของผู้มาเยือนต่อผลกระทบ
ทางนันทนาการ และก�าหนดระดับการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได้ของผลกระทบทางนันทนาการด้านชีวกายภาพบาง
ประการ ในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน โดยเก็บข้อมูลผลกระทบทางนันทนาการด้านชีวกายภาพบางประการ จาก
9 ตัวชี้วัด คือ 1) ร่องรอยการกร่อนของดิน 2) ปริมาณรากไม้โผล่พ้นดิน 3) ร่องรอยความเสียหายของล�าต้นไม้ใหญ่
4) ร่องรอยการหักเด็ดกิ่งไม้ใบไม้ 5) ปริมาณพืชคลุมดิน 6) ปริมาณขยะ 7) ร่องรอยการเดินออกนอกเส้นทาง 8)
ความขุ่นของน�้า และ 9) ของแข็งแขวนลอยในน�้า บริเวณแหล่งนันทนาการทางธรรมชาติ 3 แหล่ง คือ บ้านกร่างแคม
ป์ เขาพะเนินทุ่ง และน�้าตกป่าละอู ท�าการเก็บข้อมูลในฤดูแล้งและฤดูฝน เก็บข้อมูลการรับรู้ของผู้มาเยือนต่อผลก
ระทบทางนันทนาการด้านชีวกายภาพบางประการด้วยแบบสอบถาม จ�านวน 417 ตัวอย่าง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วย
สถิติเชิงพรรณนา t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance)
ผลการวิจัยพบว่า ในพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ต่างกัน ปริมาณพืชคลุมดินและปริมาณรากไม้โผล่พ้นดิน
ในสังคมพืชป่าดิบเขาและป่าดิบแล้ง แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ และในฤดูกาลแตกต่างกันปริมาณพืช
คลุมดินของสังคมพืชป่าดิบเขา ปริมาณพืชคลุมดินของสังคมพืชป่าดิบแล้ง ความขุ่นของแหล่งน�้า และของแข็ง
แขวนลอยในน�้า แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ จะเห็นได้ว่าผลกระทบทางนันทนาการจะเกิดขึ้นในบริเวณ
ที่มีการประกอบกิจกรรมโดยตรงมากกว่าบริเวณอื่นและมีความผันแปรตามช่วงเวลา ในส่วนผลการศึกษาการรับรู้
ผลกระทบทางนันทนาการด้านชีวกายภาพบางประการ พบว่า ผู้มาเยือนส่วนใหญ่รับรู้ว่าแหล่งนันทนาการเกิดผลกระทบ
ทางนันทนาการในระดับปานกลาง และจากผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ทั้ง
9 ตัวชี้วัด
ค�าส�าคัญ: ผลกระทบทางนันทนาการ ระดับการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได้ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ค�าน�า 2554) พบว่ามีนักท่องเที่ยวไปเยือนอุทยานแห่งชาติ
ทั่วประเทศเฉลี่ยปีละกว่า 13 ล้านคน (กรมอุทยานแห่ง
การใช้ประโยชน์พื้นที่ธรรมชาติเพื่อประกอบ ชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, 2554) สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาจาก
กิจกรรมนันทนาการได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว การใช้ประโยชน์ด้านนันทนาการในพื้นที่ธรรมชาติอย่าง
เป็นอย่างมาก จากข้อมูลด้านการท่องเที่ยวระหว่างปี หลีกเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ปัญหาความเสื่อมโทรมของสภาพ
พ.ศ. 2545 - 2549 พบว่า แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แวดล้อมทางธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ
ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวคิดเป็นร้อยละ 23 ดั้งเดิม รวมทั้งการพัฒนาที่ไม่สอดคล้องกับความสามารถ
ของจ�านวนนักท่องเที่ยวที่ไปเยือนแหล่งท่องเที่ยวทุก ในการรองรับของพื้นที่ ส่งผลให้สภาพแวดล้อมเกิด
ประเภท (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2552) โดย การเปลี่ยนแปลง ดังนั้นการศึกษาผลกระทบจากกิจกรรม
แหล่งท่องเที่ยวหรือแหล่งนันทนาการทางธรรมชาติ นันทนาการที่เกิดขึ้นในพื้นที่ธรรมชาติ จะท�าให้ทราบ
ในประเทศส่วนใหญ่คิดเป็นร้อยละ 74 ตั้งอยู่ในเขต ถึงข้อมูลสภาพเงื่อนไขในปัจจุบันและแนวโน้มการ
พื้นที่อนุรักษ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุทยานแห่งชาติ เปลี่ยนแปลง เพื่อช่วยในการก�าหนดระดับการเปลี่ยนแปลง
(นภวรรณ และคณะ, 2549) จากข้อมูลดังกล่าวสอดคล้อง ที่ยอมรับได้ อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือในการประเมิน
กับข้อมูลจ�านวนนักท่องเที่ยวที่ไปเยือนอุทยานแห่ง ประสิทธิผลของการจัดการพื้นที่และช่วยในการก�าหนด
ชาติทั่วประเทศในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2545 - แนวทาง การแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากร