Page 92 -
P. 92
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
90 Thai J. For. 31 (3) : 85-91 (2013)
Table 1 Role of water users in irrigation management at Chom Thong Irrigation Project.
อาชีพหลัก (เนื่องจากกลุ่มที่มีอาชีพเกษตรกรเป็นผู้มี บริหารจัดการน�้าชลประทาน) และสภาพคูส่งน�้าและ
ส่วนได้ส่วนเสียกับการใช้น�้า จึงค่อนข้างจะมีความ อาคารชลประทานในเขตพื้นที่เพาะปลูก (สภาพใช้งาน
คิดเห็นและให้ความส�าคัญต่อบทบาทการบริหารจัดการ ได้ดีตามปกติ มีสภาพช�ารุดเสียหายบางส่วนต้องซ่อมแซม)
น�้าชลประทานมากกว่ากลุ่มอาชีพอื่นๆ) รายได้ของ
ครอบครัวต่อปี (ผู้ที่มีรายได้ของครอบครัวต่อปีที่ค่อน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการบริหารน�้า
ข้างน้อยย่อมให้ความส�าคัญต่อบทบาทการบริหาร ชลประทาน
จัดการน�้าชลประทานมากกว่าผู้มีรายได้มากกว่า อีกทั้ง กลุ่มผู้ใช้น�้าได้ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอ
พวกมีรายได้น้อยย่อมมีความต้องการใช้น�้าจากโครงการ แนะในการบริหารจัดการน�้าชลประทาน ดังนี้
ชลประทานเพื่อใช้ในการประกอบอาชีพของตนเอง 1. การจัดการน�้าชลประทาน ที่เหมาะสม
และสร้างรายได้ให้กับครอบครัวมากกว่า) การมีส่วนร่วม ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วม จัดแบ่งตารางการใช้น�้า
ในการวางแผนการใช้น�้าจากพื้นที่ (กลุ่มผู้น�าและสมาชิก ให้เหมาะสม การวางแผนการจัดการใช้น�้าชลประทาน
ส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการวางแผนในการใช้น�้าจาก เพื่อการเกษตรในอนาคตว่า ควรมีการวางแผนปล่อย
พื้นที่จึงให้ความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการน�้าชลประทาน น�้าให้ถูกตามฤดูและกักเก็บน�้าไว้เพื่อใช้ในการเกษตร
ในลักษณะเช่นเดียวกัน) การจัดการท�าแผนในการใช้น�้า ควรมีการปล่อยน�้าคลองละ 3 วันต่อสาย
(การจัดท�าและประกาศให้ทราบอย่างชัดเจนทุกคน 2. การดูแลและบ�ารุงรักษา เสนอแนะใน
ส่วนใหญ่ได้มีส่วนร่วมในการจัดท�าแผนการใช้น�้า การปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบต่างๆ ของการใช้น�้า
ส่งผลให้ทุกคนมีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการน�้า ชลประทานว่า ควรมีการประชุมเกี่ยวกับการจัดการ
ชลประทานในลักษณะเช่นเดียวกัน) การประชุมเพื่อ การใช้น�้าและหาข้อตกลงหรือมติจากผู้ใช้น�้า และให้
วางแผนการใช้น�้าสู่พื้นที่การเกษตร (กลุ่มผู้ใช้น�้าที่มี ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทุกครั้งที่มีการประชุม
การประชุมเพื่อวางแผนการใช้น�้าสู่พื้นที่การเกษตร ควรมีการดูแลรักษาคูคลองส่งน�้าอย่างสม�่าเสมอ ควรมี
ย่อมมีความคิดเห็นต่อบทบาทในการใช้น�้าชลประทาน การเปิด-ปิดน�้า เป็นเวลามีจ�ากัด
ในลักษณะเดียวกัน) ความเพียงพอของปริมาณน�้าใช้ 3. การบริหารงานในกลุ่มผู้ใช้น�้า ควรด�าเนิน
ต่อพื้นที่การเกษตร (กลุ่มที่ได้รับน�้าใช้ต่อพื้นที่การเกษตร การจัดการน�้าที่เหมาะสมต้องมีทุกหน่วยงานเข้าร่วม
ที่เพียงพอและไม่ได้รับความเดือดร้อนจากการใช้น�้า และเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อพร้อมกัน
ในพื้นที่เกษตรย่อมมีความคิดเห็นเหมือนกัน) การมี ใช้น�้าอย่างประหยัดให้มีเหตุมีผลและไม่ฟุ่มเฟือย
ส่วนร่วมในการวางแผนการกระจายน�้า การจัดรอบเวร หน่วยงานรัฐควรให้ความรู้ ชี้แนะ วางแผนเกี่ยวกับ
การรับน�้า (กลุ่มผู้ใช้น�้าที่มีส่วนร่วมในการวางแผนการ การใช้น�้า
การจัดรอบเวรการรับน�้าได้รับทราบบทบาทในการ 4. การให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ชลประทาน