Page 88 -
P. 88
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
86 Thai J. For. 31 (3) : 85-91 (2013)
From the hypothesis testing, it was found that the factors that affected irrigated water
management by the water users in the Chomthong Project, Vientiane were: the main career,
the family’s income per year, participation in water use planning, water use planning, water
use planning at agricultural area meetings, sufficiency of water for the agricultural area, par-
ticipation in water distribution planning, using water cycle setting and the condition of ditches
and irrigation constructions in the agricultural area.
Keywords: role of water user, irrigated water, management, Vientiane, Laos.
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจ สังคมและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรน�้าของกลุ่ม
ผู้ใช้น�้าชลประทานรวมทั้งบทบาทของกลุ่มผู้ใช้น�้าชลประทานและปัจจัยที่มีต่อการบริหารจัดการน�้าในโครงการ
ชลประทานจอมทอง นครหลวงเวียงจันทน์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การวิจัยคือ กลุ่มผู้ใช้น�้าชลประทานในเขตโครงการจอมทอง จ�านวน 161 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น
แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ จ�านวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test
สถิติ F-test และวิเคราะห์รายคู่โดยใช้สถิติ Scheffe ก�าหนดค่านัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
กลุ่มผู้ใช้น�้าที่ศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 40 - 49 ปี จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษา
มีต�าแหน่งทางสังคมในชุมชนเป็นลูกบ้าน มีสมาชิกในครัวเรือนระหว่าง 5 - 6 คน อาศัยอยู่ในหมู่บ้านตั้งแต่เกิด
ถือครองที่ดินน้อยกว่า 1 เฮกแตร์ อาชีพหลักเกษตรกร อาชีพรองคือ ท�าการปลูกพืชต่างๆ รายได้รวมของครอบครัว
ต่อปีมากกว่า 16,000 บาทขึ้นไป ส�าหรับบทบาทการจัดการน�้าชลประทานของกลุ่มผู้ใช้น�้าในการบริหารจัดการ
ชลประทาน พบว่า กลุ่มผู้ใช้น�้ามีความคิดเห็นต่อภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงล�าดับจากมากไปน้อย คือ
ด้านการดูแลและบ�ารุงรักษา ด้านการสนับสนุนของเจ้าหน้าที่ชลประทาน ด้านการจัดการน�้าชลประทาน และด้าน
การบริหารงานในกลุ่มผู้ใช้น�้า
ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการน�้าของกลุ่มผู้ใช้น�้าในโครงการชลประทาน
จอมทอง นครหลวงเวียงจันทน์ได้แก่ อาชีพหลัก รายได้ของครอบครัวต่อปี การมีส่วนร่วมในการวางแผนการใช้
น�้าจากพื้นที่ การจัดการท�าแผนในการใช้น�้า การประชุมเพื่อวางแผนการใช้น�้าสู่พื้นที่การเกษตร ความเพียงพอของ
ปริมาณน�้าใช้ต่อพื้นที่การเกษตร การมีส่วนร่วมในการวางแผนการกระจายน�้า (จัดสรรน�้า) การจัดรอบเวรการรับน�้า
และสภาพคูส่งน�้าและอาคารชลประทานในเขตพื้นที่เพาะปลูก
ค�าส�าคัญ: บทบาทของกลุ่มผู้ใช้น�้า น�้าชลประทาน การบริหารจัดการ เวียงจันทน์ ลาว
ค�าน�า ประชาชนลาว จึงด�าเนินการพัฒนาแหล่งน�้า โดยเน้น
ด้านการชลประทานเป็นหลัก เพราะมีประชากรที่
น�้ากับการด�ารงชีพของมนุษย์ มีความเชื่อมโยง ประกอบอาชีพเกษตรกรถึงร้อยละ 78.6 (บุนมาก, 2548)
และสัมพันธ์กัน จึงต้องมีการบริหารจัดการแบบองค์รวม ด้วยเหตุนี้ กรมชลประทาน กระทรวงกสิกรรมและ
เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายรวมทั้งการพิจารณาว่า ป่าไม้ ได้ท�าการจัดสรรหาแหล่งน�้าการดูแลรักษาและ
น�้าเป็นสินค้าเศรษฐกิจ (Anon, 2000) และในการพัฒนา พัฒนาแหล่งน�้า (ค�าพระจันทร์, 2549) เพื่อการชลประทาน
ผลผลิตทางการเกษตร รัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตย ที่มีประสิทธิภาพและการบริหารให้กลุ่มผู้ใช้น�้าและ