Page 86 -
P. 86
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
84 Thai J. For. 31 (3) : 75-84 (2013)
เป็นคนต�าบลนี้โดยก�าเนิด ตั้งถิ่นฐานมากกว่า 30 ปี สมาชิกกลุ่มของชุมชน อาชีพหลัก การถือครองและ
มีที่ดินเป็นของตนเอง จ�านวน 6 - 10 ไร่ มีรายได้ต่อ ขนาดของที่ดิน รายได้ของครัวเรือน เงินออมของ
เดือน 5,000 - 10,000 บาท มีรายจ่ายต่อเดือนอยู่ที่ ครัวเรือน กู้หนี้ยืมสิน การได้รับข่าวสารเกี่ยวกับไฟป่า
5,000 - 10,000 บาท มีเงินออม 1,000 - 5,000 บาท โดยรวมจากโทรทัศน์และ เพื่อนบ้าน ไม่มีความสัมพันธ์
ส่วนใหญ่ไม่มีการกู้หนี้ยืมสิ้นส�าหรับผู้ที่มีรายได้ไม่พอ ต่อการมีส่วนร่วมในการป้องกันไฟป่า ที่ระดับนัยส�าคัญ
จะกู้หนี้จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 0.05 แต่อย่างใด
(ธ.ก.ส.) ได้มีการใช้ประโยชน์จากป่า ได้รับข่าวสาร การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ คือ 1) ควรมี
เกี่ยวกับไฟป่าจากโทรทัศน์ และประชาชนส่วนใหญ่ การศึกษารูปแบบที่เหมาะสม ในการส่งเสริมการมี
ไม่ได้รับการฝึกอบรม ส่วนร่วมในการป้องกันไฟป่าของชุมชน 2) ควรมี
2. การมีส่วนร่วมของประชาชน ต�าบล การศึกษาถึงมูลค่าความเสียหายที่เกิดจากการท�าลาย
สวนหลวง อ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทรัพยากรป่าไม้ทั้งในเชิงสังคม ระบบนิเวศ และเศรษฐกิจ
ในการป้องการไฟป่า ผลการศึกษาสรุปได้ว่า ค่าเฉลี่ย เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานให้คนในสังคมได้ตระหนัก
ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันไฟป่า ถึงผลเสียจากการท�าลายป่าไม้ 3) ควรมีการศึกษาการ
มีค่าเท่ากับ 3.44 ซึ่งอยู่ในระดับมาก และเมื่อแยกระดับ เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศป่าพรุหลังการเกิดไฟไหม้
การมีส่วนร่วมในการป้องกันไฟป่าออกเป็นรายด้าน เพื่อที่จะน�ามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และเป็น
พบว่า ด้านการมีส่วนร่วมในการวางแผน มีค่าเฉลี่ย ข้อมูลในการป้องกันไฟป่าต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
ของระดับการมีส่วนร่วมในการป้องกันไฟป่า เท่ากับ
3.01 อยู่ในระดับปานกลาง ด้านการมีส่วนในการ
ด�าเนินการจัดการไฟป่ามีค่าเฉลี่ยของระดับการมีส่วนร่วม เอกสารและสิ่งอ้างอิง
ในการป้องกันไฟป่า เท่ากับ 3.84 อยู่ในระดับมาก
ด้านการมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผลมีค่าเฉลี่ย ประเวศ วสี. 2532. วิกฤติหมู่บ้านไทยทางออก
ของระดับการมีส่วนร่วมในการป้องกันไฟป่า เท่ากับ และอนาคตอยู่ที่ไหน. ส�านักพิมพ์หมู่บ้าน,
3.81 อยู่ในระดับมาก กรุงเทพฯ.
3. ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย วสันต์ กล่อมจินดา. 2544. การมีส่วนร่วมของราษฎร
ทางเศรษฐกิจ สังคม ที่มีผลต่อระดับการมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า
ในการป้องกันไฟป่า พบว่า อายุ ศาสนา สถานภาพ ในพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาสมโภชน์ อ�าเภอ
สมรส ระดับการศึกษา สถานภาพในครัวเรือน สมาชิก ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี. วิทยานิพนธ์
ในครัวเรือนที่อาศัยอยู่ด้วยกัน อาชีพรอง ภูมิล�าเนาเดิม ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐาน รายจ่ายของครัวเรือน การใช้
ประโยชน์จากป่าไม้ การได้รับข่าวสารเกี่ยวกับไฟป่า ศิริ อัคคะอัคร. 2543. การควบคุมไฟป่าส�าหรับ
โดยรวมจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ/พนักงาน/หรือลูกจ้าง ประเทศไทย. ส�านักควบคุมไฟป่า กรมป่าไม้,
ของรัฐ ผู้น�าชุมชนท้องถิ่น ป้ายประชาสัมพันธ์/แผ่นพับ ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ.
เผยแพร่หนังสือพิมพ์/ วารสาร/ นิตยสาร และวิทยุ Yamane, T. 1973. Statistics: An Introductory
rd
และการได้รับการฝึกอบรม มีความสัมพันธ์กับการมี Analysis.3 ed., Harper International Edition,
ส่วนร่วมในการป้องกันไฟป่าของประชาชนที่ระดับ Tokyo.
นัยส�าคัญ 0.05 ส�าหรับ เพศ ต�าแหน่งทางสังคม